หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ศึกษาวิจัยด้านการตรวจสอบเพชร

สาขาวิชาชีพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ GEM-ZWGL-046B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ศึกษาวิจัยด้านการตรวจสอบเพชร

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

1. อาชีพนักวิเคราะห์เพชร


1 3111 ช่างเทคนิคด้านเคมีและวิทยาศาสตร์กายภาพ
1 7313 ช่างทำเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ และโลหะมีค่า

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้ใช้กับผู้ปฎิบัติงานในห้องปฏิบัติการตรวจสอบเพชร หรือผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบเพชรในอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ผู้ปฏิบัติงานต้องมีองค์ความรู้เกี่ยวกับเพชร และต้องมีความรู้และทักษะในการทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบเพชร

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มวิชาชีพอัญมณีและเครื่องประดับ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
50080201

ศึกษาวิจัยด้านการตรวจสอบเพชร

1. คัดเลือกหัวข้อหรือปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการแก้ไขปรับปรุง

50080201.01 159770
50080201

ศึกษาวิจัยด้านการตรวจสอบเพชร

2. เก็บและรวบรวมข้อมูล

50080201.02 159771
50080201

ศึกษาวิจัยด้านการตรวจสอบเพชร

3. วิเคราะห์และการแปลผลข้อมูล

50080201.03 171528
50080201

ศึกษาวิจัยด้านการตรวจสอบเพชร

4. เสนอผลการวิจัยและข้อสรุป

50080201.04 176041
50080202

เผยแพร่และให้บริการทางการวิจัย

1. เผยแพร่งานวิจัย

50080202.01 159772
50080202

เผยแพร่และให้บริการทางการวิจัย

2. ให้คำปรึกษาและแนะนำข้อมูลความรู้ที่ได้จากการศึกษาวิจัยแก่ผู้ที่สนใจ

50080202.02 159773
50080203

จัดการองค์ความรู้งานวิจัยด้านการตรวจสอบเพชร

1. ประมวลความรู้งานวิจัย เพื่อใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการตรวจสอบ

50080203.01 171529
50080203

จัดการองค์ความรู้งานวิจัยด้านการตรวจสอบเพชร

2. ประมวลความรู้งานวิจัยที่ตอบโจทย์อุตสาหกรรม

50080203.02 171530
50080203

จัดการองค์ความรู้งานวิจัยด้านการตรวจสอบเพชร

3. ประมวลความรู้เครื่องมือสำหรับงานวิจัย

50080203.03 171531

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. สามารถคัดเลือกหัวข้อหรือปัญหา



2. สามารถเก็บและรวบรวมข้อมูล



3. สามารถวิเคราะห์และการตีความข้อมูล



4. สามารถเสนอผลการวิจัยและข้อสรุป



5. สามารถสร้างเครือข่ายทางการวิจัยกับนักวิจัยและหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง



6. สามารถจัดทำฐานข้อมูลนักวิจัยและหน่วยงานวิจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง



7. สามารถเผยแพร่งานวิจัย



8. สามารถให้คำปรึกษาและแนะนำข้อมูลความรู้ที่ได้จากการศึกษาวิจัยแก่ผู้ที่สนใจ

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้เกี่ยวกับการคัดเลือกหัวข้อหรือปัญหา



2. ความรู้เกี่ยวกับการเก็บและรวบรวมข้อมูล



3. ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์และการตีความข้อมูล



4. ความรู้เกี่ยวกับการเสนอผลการวิจัยและข้อสรุป



5. ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเครือข่ายทางการวิจัยกับนักวิจัยและหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง



6. ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำฐานข้อมูลนักวิจัยและหน่วยงานวิจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง



7. ความรู้เกี่ยวกับการเผยแพร่งานวิจัย



8. ความรู้เกี่ยวกับการให้คำปรึกษาและแนะนำข้อมูลความรู้ที่ได้จากการศึกษาวิจัยแก่ผู้ที่สนใจ


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)



(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



1. แสดงการคัดเลือกหัวข้อหรือปัญหา



2. แสดงการเก็บและรวบรวมข้อมูล



3. แสดงการวิเคราะห์และการตีความข้อมูล



4. แสดงการเสนอผลการวิจัยและข้อสรุป



5. แสดงการสร้างเครือข่ายทางการวิจัยกับนักวิจัยและหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง



6. แสดงการจัดทำฐานข้อมูลนักวิจัยและหน่วยงานวิจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง



7. แสดงการเผยแพร่งานวิจัย



8. แสดงการให้คำปรึกษาและแนะนำข้อมูลความรู้ที่ได้จากการศึกษาวิจัยแก่ผู้ที่สนใจ



9. ใบบันทึกผลการสัมภาษณ์



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



1. อธิบายเกี่ยวกับการคัดเลือกหัวข้อหรือปัญหา



2. อธิบายเกี่ยวกับการเก็บและรวบรวมข้อมูล



3. อธิบายเกี่ยวกับการวิเคราะห์และการตีความข้อมูล



4. อธิบายเกี่ยวกับการเสนอผลการวิจัยและข้อสรุป



5. อธิบายเกี่ยวกับการสร้างเครือข่ายทางการวิจัยกับนักวิจัยและหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง



6. อธิบายเกี่ยวกับการจัดทำฐานข้อมูลนักวิจัยและหน่วยงานวิจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง



7. อธิบายเกี่ยวกับการเผยแพร่งานวิจัย



8. อธิบายเกี่ยวกับการให้คำปรึกษาและแนะนำข้อมูลความรู้ที่ได้จากการศึกษาวิจัยแก่ผู้ที่สนใจ



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการทำงานวิจัยด้านการตรวจสอบอัญมณี โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้



 (ง) วิธีการประเมิน



1. การสัมภาษณ์


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ



ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีความรู้และทักษะในเรื่องของเนื้อหาที่จะทำวิจัยทางด้านการตรวจสอบเพชร ระเบียบวิธีวิจัย การประสานงานวิจัย และการเผยแพร่และให้บริการทางการวิจัย ตัวอย่างงานวิจัยด้านการตรวจสอบเพชร เช่น การตรวจสอบสิ่งที่เลียนแบบเพชร การตรวจสอบเพชรสังเคราะห์ การตรวจสอบการปรับปรุงคุณภาพเพชร เป็นต้น



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



งานวิจัย คือ การศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ หรือทดลองอย่างมีระบบ โดยอาศัยอุปกรณ์หรือวิธีการ เพื่อให้พบข้อเท็จจริง หรือหลักการไปใช้ในการตั้งกฎ ทฤษฎี หรือแนวทางในการปฏิบัติ ลักษณะของงานที่ถือว่าเป็นการวิจัย ควรจะประกอบด้วยขั้นตอนการดำเนินงานที่สำคัญ ดังนี้




  • การคัดเลือกหัวข้อในการวิจัย

  • วิธีการเก็บและรวบรวมข้อมูล

  • การวิเคราะห์และการตีความข้อมูล

  • การเสนอผลการวิจัยและข้อสรุป



ภายหลังจากการวิจัยเสร็จสิ้น นักวิจัยควรมีการเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการวิจัยออกสู่สังคมทั้งในหรือต่างประเทศ โดยสามารถเผยแพร่ในรูปของสื่อสิ่งตีพิมพ์ สื่อทางโซเชียล สื่อมัลติมีเดีย การประชุมวิชาการ หรือการจัดสัมมนาต่างๆ


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือการประเมิน



1. การสัมภาษณ์



ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



ยินดีต้อนรับ