หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ประพฤติตนเป็นตัวอย่างที่ดีตามจรรยาบรรณวิชาชีพ

สาขาวิชาชีพการกีฬา


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ SPT-MUTW-105A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ประพฤติตนเป็นตัวอย่างที่ดีตามจรรยาบรรณวิชาชีพ

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

    ผู้ตัดสินมวยไทย



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
มีความรู้ด้านการประพฤติตนเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อวิชาชีพ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้ชี้ขาด และผู้ตัดสิน  กีฬามวยไทยสมัครเล่น     กีฬามวยไทยอาชีพ   กีฬามวยสากลสมัครเล่น  กีฬามวยสากลอาชีพ   และกีฬาที่แข่งขันกีฬามวยประยุกต์

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
พ.ร.บ. กีฬามวย  พ.ศ. 2542  ( การปรับปรุงแก้ไข  พ.ศ. 2564 )

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
X23.31

คุณลักษณะผู้ตัดสินที่ดี

1. คุณลักษณะผู้ตัดสินที่ดี

X23.31.01 159154
X23.31

คุณลักษณะผู้ตัดสินที่ดี

2. สิ่งที่ผู้ตัดสินที่ดีพึงปฏิบัติ

X23.31.02 159155
X23.32

ประพฤติตนเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อวิชาชีพผู้ตัดสิน

1. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการปรับปรุงพัฒนาตนเอง

X23.32.01 159156
X23.32

ประพฤติตนเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อวิชาชีพผู้ตัดสิน

2. ปฏิบัติหน้าที่ตามหลักมาตรฐานอาชีพเพื่อเสริมสร้างและยกระดับการยอมรับและไว้วางใจจากสังคมที่มีต่อวิชาชีพ

X23.32.02 159157
X23.33

ประพฤติตนเป็นตัวอย่างที่ดีตามจรรยาบรรณวิชาชีพตามจรรยาบรรณวิชาชีพการเป็นผู้ตัดสิน

1. ปฏิบัติตนเพื่อรักษาเกียรติและศักดิ์ศรี 

X23.33.01 159158
X23.33

ประพฤติตนเป็นตัวอย่างที่ดีตามจรรยาบรรณวิชาชีพตามจรรยาบรรณวิชาชีพการเป็นผู้ตัดสิน

2. ปฏิบัติตนด้วยความซื่อสัตย์ในหน้าที่ 

X23.33.02 159159
X23.33

ประพฤติตนเป็นตัวอย่างที่ดีตามจรรยาบรรณวิชาชีพตามจรรยาบรรณวิชาชีพการเป็นผู้ตัดสิน

3. ปฏิบัติตนในการรักษาความลับในเอกสารปฏิบัติงาน

X23.33.03 159160
X23.33

ประพฤติตนเป็นตัวอย่างที่ดีตามจรรยาบรรณวิชาชีพตามจรรยาบรรณวิชาชีพการเป็นผู้ตัดสิน

4. ปฏิบัติตนตามความรับผิดชอบต่อหน้าที่

X23.33.04 159161

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. คุณลักษณะผู้ตัดสินที่ดี



2. ความรับผิดชอบ



3. ปฏิบัติหน้าที่ตามหลักมาตรฐานอาชีพเพื่อเสริมสร้างและยกระดับการยอมรับและไว้วางใจจากสังคมที่มีต่อวิชาชีพ



4. ปฏิบัติตนด้วยความซื่อสัตย์ในหน้าที่

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้เรื่องกติกามวยไทย



2. ความรู้เรื่องพระราชบัญญัติกีฬามวย พ.ศ. 2542


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)



(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



1. เอกสาร / หลักฐานการอบรมเชิงปฏิบัติการ



2. แฟ้มสะสมผลงาน และ / หรือ สมุดประจำตัวผู้ตัดสินและผู้ชี้ขาด



3. เอกสาร / หลักฐานที่เกี่ยวข้อง



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



1. ผลการทดสอบความรู้



2. เอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้อง



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



ผู้เข้ารับการประเมินต้องผ่านการประเมินที่ครอบคลุมในทุกสมรรถนะย่อยขอบเขตความรู้และทักษะที่กำหนดในกรณีที่ผู้รับการประเมินผ่านไม่ครบตามเกณฑ์กำหนด ผู้ประเมินต้องแจ้งหน่วยสมรรถนะและสมรรถนะย่อยที่ไม่ผ่านให้ผู้รับการประเมินไปทบทวนสมรรถนะที่ยังไม่ผ่านและสามารถกลับมาทดสอบสมรรถนะใหม่อีกครั้ง



(ง) วิธีการประเมิน



1. ผลการทดสอบความรู้



2. เอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้อง


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงคุณลักษณะผู้ตัดสินที่ดีการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักมาตรฐานอาชีพเพื่อเสริมสร้างและยกระดับการยอมรับและไว้วางใจจากสังคมที่มีต่อวิชาชีพ



(ก) คำแนะนำ



ผู้เข้ารับการทดสอบจะต้องมีความต้องการด้านความรู้



          1. ความรู้เรื่องกติกามวยไทย



          2. ความรู้เรื่องพระราชบัญญัติกีฬามวย พ.ศ. 2542



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



          1. ความโปร่งใส หมายถึง การมองเห็นภาพโดยตลอดปราศจากประเด็นแอบแฝง ซ่อนเร้น มีข้อมูลชัดเจน ละเอียด ประกอบการประสานงาน การ



           ร่วมมือร่วมใจ และการตัดสินใจ



          2. ลักษณะของการเป็นผู้ตัดสินกีฬาที่ดี กรมพลศึกษา (2552) ได้เสนอลักษณะของการเป็นผู้ตัดสินที่ดี ไว้ 11 ประการ ดังนี้



               1) เป็นผู้ที่มีบุคลิกท่าทางที่น่านิยม สภาพของร่างกาย กิริยาท่าทาง การแต่งกายทั้งภายนอกและภายในสนามเหมาะกับสภาพกาลเทศะ



               2) เป็นผู้ที่มีอารมณ์มั่นคง แสดงออกถึงความน่าเชื่อถือ



               3) เป็นผู้ที่มีความซื่อตรง แสดงออกถึงความซื่อสัตย์ต่อผู้เข้าแข่งขันและต่อผู้ตัดสินด้วยกันทั้งต่อหน้าและลับหลัง มีความเที่ยงธรรมและมี



               ศักดิ์ศรีของการเป็นผู้ตัดสิน



               4) เป็นผู้ที่มีความกล้าหาญ มีน้ำใจเด็ดเดี่ยว ไม่เกรงกลัวอิทธิพลใดๆ กิริยาท่าทางกระฉับกระเฉงคล่องแคล่วว่องไว ไม่เชื่องช้า ทันต่อ



               เหตุการณ์ตลอดเกมการแข่งขัน ถ้ามีการแข่งขันที่กระทำผิดกติกาจะต้องตัดสินชี้ขาดทันที



               5) เป็นผู้ที่สามารถใช้สามัญสำนึกในการตัดสินได้อย่างดี ต้องรู้จักยืดหยุ่นให้เหมาะสม



               6) เป็นผู้ที่จะแสดงออกถึงความสามารถอย่างเต็มที่ ต้องคำนึงอยู่เสมอว่าการตัดสินทุกครั้งคือการทำแบบฝึกหัดที่ยากมาก ฉะนั้น ต้องทำให้



              ดีที่สุด ไม่ประมาท ทะนงตัว



              7) เป็นผู้ที่มีใจคอหนักแน่น มีความเข้าใจในตนเองและเพื่อนผู้ตัดสินด้วยกัน มีจิตใจกว้างขวาง ยินดีและพร้อมที่จะรับฟังความคิดเห็นของผู้



              อื่นและกลุ่มสมาชิก



               8) เป็นผู้ที่มีเกียรติเชื่อถือได้ จะต้องไม่นำเอาข้อเสียของผู้ตัดสินคนหนึ่งคนใดไปบอกเล่าให้บุคคลอื่นฟัง หรือนำเอาข้อบกพร่องของผู้



              ฝึกสอนที่กระทำผิด หรือของนักกีฬาที่เข้าแข่งขันได้กระทำแล้วนำไปบอกเล่าให้ผู้อื่นฟัง



              9) เป็นผู้ที่มีความยุติธรรมแก่ทุกๆ คน ต้องตัดสินการแข่งขันด้วยความบริสุทธิ์ ยุติธรรม



              10) เป็นผู้ที่มีความรอบรู้ มีเชาว์ปัญญาดี ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความสุขุมรอบคอบ ซึ่งจะทำให้การแข่งขันดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย การ



              ควบคุมการแข่งขันที่ราบรื่นปราศจากอุปสรรคที่อาจจะเกิดขึ้น



              11) เป็นผู้ที่มีความพร้อม มีสติสัมปชัญญะ ติดตามและควบคุมการแข่งขันตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นการแข่งขันอย่างใกล้ชิด


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)


  1. แฟ้มผลงาน




  2. การสอบข้อเขียน




  3. ทดสอบภาคปฏิบัติ




  4. การสัมภาษณ์





ยินดีต้อนรับ