หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

บำรุงรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์

สาขาวิชาชีพสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ TEX-LNML-145A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ บำรุงรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2564

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า  



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้ สามารถทำหน้าที่ตรวจพินิจวัสดุผลิตภัณฑ์และหาสาเหตุจุดบกพร่องของวัสดุและบำรุงรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ แก้ไขจุดบกพร่องและบันทึกรายละเอียด

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
สาขาวิชาชีพสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม สาขาช่างตัดเย็บเสื้อผ้า

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
30331

ตรวจพินิจวัสดุผลิตภัณฑ์และหาสาเหตุจุดบกพร่องของวัสดุและผลิตภัณฑ์

1. ตรวจสอบความเรียบร้อยของเสื้อผ้าที่บรรจุกล่องกระดาษ

30331.01 159466
30331

ตรวจพินิจวัสดุผลิตภัณฑ์และหาสาเหตุจุดบกพร่องของวัสดุและผลิตภัณฑ์

2. ตรวจสอบความเรียบร้อยของเสื้อผ้าที่บรรจุถุงพลาสติก

30331.02 159467
30331

ตรวจพินิจวัสดุผลิตภัณฑ์และหาสาเหตุจุดบกพร่องของวัสดุและผลิตภัณฑ์

3. วิเคราะห์สาเหตุและข้อบกพร่องของผลิตภัณฑ์

30331.03 159468
30332

แก้ไขจุดบกพร่องและบันทึกรายละเอียด

1. พิจารณาจุดบกพร่องว่าเกิดจากขั้นตอนใดในการผลิต

30332.01 159469
30332

แก้ไขจุดบกพร่องและบันทึกรายละเอียด

2. บันทึกการตรวจสอบการผลิตในแต่ละขั้นตอน ขั้นตอนการตัด, เย็บ, ตกแต่งและบรรจุ

30332.02 159470
30332

แก้ไขจุดบกพร่องและบันทึกรายละเอียด

3. แก้ไขจุดบกพร่องของผลิตภัณฑ์

30332.03 159471

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

ไม่มี


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1.  ปฏิบัติการสรุปตรวจพินิจวัสดุผลิตภัณฑ์และหาสาเหตุจุดบกพร่องของวัสดุและผลิตภัณฑ์

2.  ปฏิบัติการสรุปแก้ไขจุดบกพร่องและบันทึกรายละเอียด

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1.    การตรวจพินิจวัสดุผลิตภัณฑ์

2.    สาเหตุและจุดบกพร่องของผลิตภัณฑ์

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

    1. เอกสารหลักฐานที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน หรือหลักฐานอื่นๆ (ถ้ามี)





(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

1. ผลจากแบบสัมภาษณ์

2. ใบรับรองการเข้ารับการฝึกอบรม (ถ้ามี)

3. ใบประกาศนียบัตร/ วุฒิบัตร (ถ้ามี)

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

ผู้เข้ารับการประเมินต้องผ่านการประเมิน ที่ครอบคลุมในทุกสมรรถนะประเมินย่อย ขอบเขต ความรู้และทักษะที่กำหนด ในกรณีที่ผู้รับการประเมินผ่านไม่ครบตามเกณฑ์ที่กำหนดถือว่าไม่ผ่านการประเมิน 

(ง) วิธีการประเมิน

  1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน

  2. พิจารณาตามหลักฐานสัมภาษณ์

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

  (ก) คำแนะนำ 

1.  ผู้รับการประเมินจะต้องตรวจสอบการปฏิบัติงานเกี่ยวกับตรวจพินิจวัสดุผลิตภัณฑ์และหาสาเหตุจุดบกพร่องของวัสดุและผลิตภัณฑ์

2.  ผู้รับการประเมินจะต้องตรวจสอบการแก้ไขจุดบกพร่องและบันทึกรายละเอียด

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

1. ตรวจสอบการปฏิบัติงานเกี่ยวกับตรวจพินิจวัสดุผลิตภัณฑ์

2. ตรวจสอบการแก้ไขจุดบกพร่องและบันทึกรายละเอียด

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือประเมินตรวจพินิจวัสดุผลิตภัณฑ์และหาสาเหตุจุดบกพร่องของวัสดุและผลิตภัณฑ์

       1) แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์

       2) แบบฟอร์มประเมินผลการสาธิตการปฏิบัติงาน

18.2 เครื่องมือประเมินแก้ไขจุดบกพร่องและบันทึกรายละเอียด

       1) แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์

       2) แบบฟอร์มประเมินผลการสาธิตการปฏิบัติงาน

 



ยินดีต้อนรับ