หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

กำหนดขั้นตอนการสอบเทียบด้านมิติ

สาขาวิชาชีพมาตรวิทยา


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ MAT-ZZZ-4-015ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ กำหนดขั้นตอนการสอบเทียบด้านมิติ

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)
N/A

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
    ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้มีความรู้ความเข้าใจระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการด้านมิติมีความเชี่ยวชาญและ ความสามารถจัดทำเอกสารวิธีปฏิบัติงานต่างๆ ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการแบบบันทึกที่เกี่ยวข้องกำหนดแผนงานการปฏิบัติงานรวมถึงมีความเข้าใจสามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
สาขาวิชาชีพมาตรวิทยา 

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
- ISO/IEC 17025  General Requirements for the Competence of Testing and Calibration Laboratories- คู่มือการปฏิบัติงาน (Working Instruction

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
01D4201 จัดทำเอกสารวิธีปฏิบัติงานตามวิธีการมาตรฐานด้านมิติหรือวิธีที่ห้องปฏิบัติการพัฒนาขึ้น 1.สามารถปฏิบัติตามกำหนดด้านวิชาการมาตรฐานISO/IEC 01D4201.01 21118
01D4201 จัดทำเอกสารวิธีปฏิบัติงานตามวิธีการมาตรฐานด้านมิติหรือวิธีที่ห้องปฏิบัติการพัฒนาขึ้น 17025 01D4201.02 21119
01D4201 จัดทำเอกสารวิธีปฏิบัติงานตามวิธีการมาตรฐานด้านมิติหรือวิธีที่ห้องปฏิบัติการพัฒนาขึ้น 2.สามารถจัดทำเอกสารตามระบบคุณภาพ 01D4201.03 21120
01D4201 จัดทำเอกสารวิธีปฏิบัติงานตามวิธีการมาตรฐานด้านมิติหรือวิธีที่ห้องปฏิบัติการพัฒนาขึ้น 3.สามารถจัดทำแผนงานตามระบบคุณภาพ 01D4201.04 21121
01D4201 จัดทำเอกสารวิธีปฏิบัติงานตามวิธีการมาตรฐานด้านมิติหรือวิธีที่ห้องปฏิบัติการพัฒนาขึ้น 4.สามารถจัดทำแบบบันทึกที่ใช้ในงานสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านมิติ 01D4201.05 21122
01D4201 จัดทำเอกสารวิธีปฏิบัติงานตามวิธีการมาตรฐานด้านมิติหรือวิธีที่ห้องปฏิบัติการพัฒนาขึ้น 1.สามารถปฏิบัติตามกำหนดด้านวิชาการมาตรฐานISO/IEC 01D4201.06 123570
01D4201 จัดทำเอกสารวิธีปฏิบัติงานตามวิธีการมาตรฐานด้านมิติหรือวิธีที่ห้องปฏิบัติการพัฒนาขึ้น 17025 01D4201.07 123571
01D4201 จัดทำเอกสารวิธีปฏิบัติงานตามวิธีการมาตรฐานด้านมิติหรือวิธีที่ห้องปฏิบัติการพัฒนาขึ้น 2.สามารถจัดทำเอกสารตามระบบคุณภาพ 01D4201.08 123572
01D4201 จัดทำเอกสารวิธีปฏิบัติงานตามวิธีการมาตรฐานด้านมิติหรือวิธีที่ห้องปฏิบัติการพัฒนาขึ้น 3.สามารถจัดทำแผนงานตามระบบคุณภาพ 01D4201.09 123573
01D4201 จัดทำเอกสารวิธีปฏิบัติงานตามวิธีการมาตรฐานด้านมิติหรือวิธีที่ห้องปฏิบัติการพัฒนาขึ้น 4.สามารถจัดทำแบบบันทึกที่ใช้ในงานสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านมิติ 01D4201.10 123574
01D4201 จัดทำเอกสารวิธีปฏิบัติงานตามวิธีการมาตรฐานด้านมิติหรือวิธีที่ห้องปฏิบัติการพัฒนาขึ้น 1.สามารถจัดทำขั้นตอนตามเอกสารอ้างอิงและประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดตามคู่มือการปฏิบัติงาน 01D4201.11 123575
01D4201 จัดทำเอกสารวิธีปฏิบัติงานตามวิธีการมาตรฐานด้านมิติหรือวิธีที่ห้องปฏิบัติการพัฒนาขึ้น 2.สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดตามคู่มือการปฏิบัติงาน 01D4201.12 123576
01D4201 จัดทำเอกสารวิธีปฏิบัติงานตามวิธีการมาตรฐานด้านมิติหรือวิธีที่ห้องปฏิบัติการพัฒนาขึ้น 3.สามารถวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสอบเทียบเครื่องมือวัดละเอียดด้านมิติตามคู่มือการปฏิบัติงาน 01D4201.13 123577
01D4202 ประเมินความไม่แน่นอนของผลการวัดด้านมิติ 1.สามารถจัดทำขั้นตอนตามเอกสารอ้างอิงและประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดตามคู่มือการปฏิบัติงาน 01D4202.09 21123
01D4202 ประเมินความไม่แน่นอนของผลการวัดด้านมิติ 2.สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดตามคู่มือการปฏิบัติงาน 01D4202.10 21124
01D4202 ประเมินความไม่แน่นอนของผลการวัดด้านมิติ 3.สามารถวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสอบเทียบเครื่องมือวัดละเอียดด้านมิติตามคู่มือการปฏิบัติงาน 01D4202.11 21125
01D4202 ประเมินความไม่แน่นอนของผลการวัดด้านมิติ 1.สามารถปฏิบัติตามกำหนดด้านวิชาการมาตรฐานISO/IEC 01D4202.01 123578
01D4202 ประเมินความไม่แน่นอนของผลการวัดด้านมิติ 17025 01D4202.02 123579
01D4202 ประเมินความไม่แน่นอนของผลการวัดด้านมิติ 2.สามารถจัดทำเอกสารตามระบบคุณภาพ 01D4202.03 123580
01D4202 ประเมินความไม่แน่นอนของผลการวัดด้านมิติ 3.สามารถจัดทำแผนงานตามระบบคุณภาพ 01D4202.04 123581
01D4202 ประเมินความไม่แน่นอนของผลการวัดด้านมิติ 4.สามารถจัดทำแบบบันทึกที่ใช้ในงานสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านมิติ 01D4202.05 123582
01D4202 ประเมินความไม่แน่นอนของผลการวัดด้านมิติ 1.สามารถจัดทำขั้นตอนตามเอกสารอ้างอิงและประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดตามคู่มือการปฏิบัติงาน 01D4202.06 123583
01D4202 ประเมินความไม่แน่นอนของผลการวัดด้านมิติ 2.สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดตามคู่มือการปฏิบัติงาน 01D4202.07 123584
01D4202 ประเมินความไม่แน่นอนของผลการวัดด้านมิติ 3.สามารถวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสอบเทียบเครื่องมือวัดละเอียดด้านมิติตามคู่มือการปฏิบัติงาน 01D4202.08 123585

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

   สามารถเข้าใจการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านมิติ และข้อมูลในใบรับรองผลการสอบเทียบเครื่องมือมาตรฐานด้านมิติ เอกสารในระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. สามารถระบุถึงเอกสารระดับต่างๆ ในระบบคุณภาพและความเชื่อมโยงเอกสาร

2. สามารถจัดทำเอกสารวิธีปฏิบัติงาน ขั้นตอนการทำงานและแบบบันทึกตามที่กำหนดในระบบคุณภาพ

3. การประเมินปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการวัดในการสอบเทียบเครื่องมือวัดละเอียดด้านมิติ

4. การประเมินปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการวัดในการสอบเทียบเครื่องมือมาตรฐานด้านมิติ


(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. รู้เกี่ยวกับการจัดทำเอกสารระดับต่างๆ ให้สอดคล้องกับข้อกำหนดวิชาการตามมาตรฐาน ISO/IEC17025

2. เข้าใจวิธีประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด ระบุถึงปัจจัยต่างๆที่มีผลกระทบได้

3. รู้ขั้นตอนการขอจัดทำเอกสาร การอนุมัติ การประกาศใช้



14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

     1. บันทึกการขอจัดทำเอกสาร หรือ

     2. เอกสารขั้นตอนการปฏิบัติงาน หรือ

     3. แผนการปฏิบัติงาน

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

     1. ใบรับรองการฝึกอบรม

     2. บันทึกการทดสอบข้อเขียน

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

    ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจในการจัดทำเอกสารขั้นตอนการทำงานด้านมิติโดยพิจารณาจากหลักฐาน ที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้

(ง) วิธีการประเมิน

     1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน

     2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้



15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ 

    N/A

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

    จุดประสงค์หลักของหน่วยสมรรถนะนี้คือสามารถเขียนขั้นตอนการสอบเทียบเป็นคู่มือการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับข้อกำหนดทางวิชาการของ ISO/IEC 17025  



16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1. ข้อสอบข้อเขียน

2. พิจารณาแฟ้มสะสมผลงานเพื่อประเมินสมรรถนะหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้




ยินดีต้อนรับ