หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ติดตามผลการดำเนินงานด้านการจัดการคุณภาพการพิมพ์

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ PRT-QYZR-429A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ติดตามผลการดำเนินงานด้านการจัดการคุณภาพการพิมพ์

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2564

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

หัวหน้างานจัดการคุณภาพการพิมพ์



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้เกี่ยวกับการการตรวจสอบคุณภาพการพิมพ์  และการควบคุมผลการตรวจสอบคุณภาพการพิมพ์ให้เป็นไปตามมาตรฐาน 

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้ประกอบวิชาชีพจัดการคุณภาพการพิมพ์

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
รหัส ISCO – 08-3122 หัวหน้างานสายการผลิต (Manufacturing supervisors)

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
307041

พัฒนาการตรวจสอบคุณภาพการพิมพ์

1 วิเคราะห์แก้ไขและป้องกันปัญหาคุณภาพของวัตถุดิบ โดยใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ปัญหา

307041.01 161671
307041

พัฒนาการตรวจสอบคุณภาพการพิมพ์

2 จัดทำแผนการตรวจติดตามปัญหาคุณภาพ

307041.02 161672
307041

พัฒนาการตรวจสอบคุณภาพการพิมพ์

3 มีความสามารถในการสื่อสารและประสานงานกับทีมงานและลูกค้า

307041.03 161673
307042

ควบคุมผลการตรวจสอบคุณภาพการพิมพ์ให้เป็นไปตามมาตรฐาน

1 วิเคราะห์แก้ไขและป้องกันปัญหาคุณภาพของวัตถุดิบ โดยใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ปัญหา

307042.01 161674
307042

ควบคุมผลการตรวจสอบคุณภาพการพิมพ์ให้เป็นไปตามมาตรฐาน

2 ควบคุมกระบวนการตรวจสอบคุณภาพให้ได้ตามมาตรฐาน

307042.02 161675

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

อ่านและเขียนภาษาไทยได้  และเข้าใจภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับการทำงานได้ มีประสบการณ์ทำงานด้านการควบคุมคุณภาพ


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1.    การสื่อสารและประสานงานกับทีมงานและลูกค้า

2.    การจัดทำแผนการตรวจติดตามปัญหาคุณภาพการพิมพ์

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1.    การวิเคราะห์ด้านการแก้ไขและป้องกันปัญหาคุณภาพของวัตถุดิบ โดยใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ปัญหา

2.    กระบวนการผลิตของวัตถุดิบ

3.    การจัดทำแผนการตรวจติดตามปัญหาคุณภาพการพิมพ์ 

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

1.    แบบสัมภาษณ์

2.    แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับวิธีการแก้ไขและป้องกันด้านการประกันคุณภาพงานพิมพ์



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

1.    แบบสัมภาษณ์

2.    แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับวิธีการแก้ไขและป้องกันด้านการประกันคุณภาพงานพิมพ์



(ค) คำแนะนำในการประเมิน

        ในการประเมินด้านการแก้ไขและปัญหาควรระบุวัสดุที่ใช้พิมพ์ และระบบการพิมพ์ที่ใช้



(ง) วิธีการประเมิน

1.    การประเมินความรู้โดยใช้แบบทดสอบความรู้และการสัมภาษณ์

2.    การประเมินทักษะจากวิธีการแก้ไขปัญหาและวิธีการป้องกันตามกรณีศึกษา

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

    (ก) คำแนะนำ 

        การดำเนินงานประกันคุณภาพขึ้นอยู่กับระบบการพิมพ์และวัสดุที่ใช้พิมพ์

    (ข) คำอธิบายรายละเอียด

        วิธีและขั้นตอนการดำเนินตามกระบวนการผลิตของแต่ละสถานประกอบการณ์

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1.    การสัมภาษณ์

2.    การทดสอบโดยข้อสอบ

3.    การทดสอบจากกรณีศึกษา

 



ยินดีต้อนรับ