หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ปรับตั้งเครื่องพิมพ์กราวัวร์และพิมพ์งานตัวอย่าง

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ PRT-NDSU-182A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ปรับตั้งเครื่องพิมพ์กราวัวร์และพิมพ์งานตัวอย่าง

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2564

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

หัวหน้าช่างพิมพ์กราวัวร์



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานพิมพ์ที่ใช้ทักษะทางเทคนิคในการปฏิบัติงาน ทักษะทางความคิดและปฏิบัติงานที่หลากหลาย ครอบคลุมการปฏิบัติงาน หาข้อสรุปและการตัดสินใจแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับงานโดยใช้ทฤษฎีและเทคนิคอย่างอิสระด้วยตนเอง

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
    ผู้ประกอบวิชาชีพงานพิมพ์

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
 รหัส ISCO – 08-7322 ช่างพิมพ์ (Printers)

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
306071 ปรับความตึงของม้วนป้อนเข้าวัสดุ (unwind) 1.1 ปรับความตึงตามใบสั่งงาน 306071.01 86220
306071 ปรับความตึงของม้วนป้อนเข้าวัสดุ (unwind) 1.2 ควบคุมความดึงม้วนให้สม่ำเสมอ 306071.02 86221
306072 ปรับลูกกลิ้งกดพิมพ์ (NIP) 2.1 ปรับแรงกดตามมาตรฐานที่กำหนด 306072.01 86222
306072 ปรับลูกกลิ้งกดพิมพ์ (NIP) 2.2 ปรับตั้งระยะลูกกลิ้งกดแม่พิมพ์ได้ตามมาตรฐาน 306072.02 86223
306073 ปรับตั้งใบมีดปาดหมึก 3.1 ปรับองศาของใบมีดตามลักษณะของเครื่อง 306073.01 86224
306073 ปรับตั้งใบมีดปาดหมึก 3.2 ปรับระยะห่างใบมีดให้เหมาะสมกับลักษณะงานพิมพ์ 306073.02 86225
306074 ปรับตั้งหน่วยทำแห้งของหมึกพิมพ์ 4.1 ปรับตั้งอุณหภูมิของหน่วยทำแห้งในเครื่องพิมพ์กราวัวร์ให้เหมาะสม 306074.01 86226
306074 ปรับตั้งหน่วยทำแห้งของหมึกพิมพ์ 4.2 ควบคุมอุณหภูมิทำแห้งได้เหมาะสมกับวัสดุใช้พิมพ์และหมึกพิมพ์ 306074.02 86227
306075 ปรับแรงตึงของการเก็บม้วน (Rewind) 5.1 ปรับความตึงของการเก็บม้วนตามใบสั่งงาน 306075.01 86228
306075 ปรับแรงตึงของการเก็บม้วน (Rewind) 5.2 ควบคุมแรงตึงของการเก็บม้วนให้ถูกต้อง 306075.02 86229
306076 พิมพ์งานตัวอย่าง 6.1 ตรวจสอบตำแหน่งภาพได้เที่ยงตรง 306076.01 86230
306076 พิมพ์งานตัวอย่าง 6.2 ตรวจสอบปัญหางานตัวอย่างก่อนพิมพ์จริง 306076.02 86231
306077 ควบคุมตำแหน่งภาพของงานพิมพ์ 7.1 ปรับความเที่ยงตรงของภาพพิมพ์ได้ถูกต้อง 306077.01 86232
306077 ควบคุมตำแหน่งภาพของงานพิมพ์ 7.2 ปรับตั้งระยะภาพให้ตรงตามที่กำหนด 306077.02 86233

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

อ่านและเขียนภาษาไทยได้  และเข้าใจภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับการทำงานได้ มีประสบการณ์ทางด้านการพิมพ์กราวัวร์ และไม่ตาบอดสี


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1.    ปรับความตึงตามใบสั่งงาน

2.    ควบคุมความดึงม้วนให้สม่ำเสมอ

3.    ปรับแรงกดตามมาตรฐานที่กำหนด

4.    ปรับองศาของใบมีดตามลักษณะของเครื่อง

5.    ปรับระยะห่างใบมีดให้เหมาะสมกับลักษณะงานพิมพ์

6.    ปรับตั้งอุณหภูมิของหน่วยทำแห้ง

7.    ปรับความตึงของการเก็บม้วนตามใบสั่งงาน

8.    ควบคุมแรงตึงของการเก็บม้วน

9.    ตรวจสอบตำแหน่งภาพ

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1.    ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพิมพ์กราวัวร์

2.    ประเภทของเครื่องพิมพ์กราวัวร์

3.    โครงสร้างและส่วนประกอบหลักของเครื่องพิมพ์กราวัวร์

4.    การปรับแรงตึงของม้วนวัสดุพิมพ์

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก)    หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

1.    ผลการปรับความตึงตามใบสั่งงาน

2.    ผลการควบคุมความดึงม้วนให้สม่ำเสมอ

3.    ผลการปรับแรงกดตามมาตรฐานที่กำหนด

4.    ผลการปรับองศาของใบมีดตามลักษณะของเครื่อง

5.    ผลการปรับระยะห่างใบมีดให้เหมาะสมกับลักษณะงานพิมพ์

6.    ผลการปรับตั้งอุณหภูมิของหน่วยทำแห้ง

7.    ผลการปรับความตึงของการเก็บม้วนตามใบสั่งงาน

8.    ผลการควบคุมแรงตึงของการเก็บม้วน

9.    ผลการตรวจสอบตำแหน่งภาพ

(ข)    หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

1.    การพิมพ์กราวัวร์ขั้นพื้นฐาน

2.    ประเภทของเครื่องพิมพ์กราวัวร์

3.    โครงสร้างและส่วนประกอบหลักของเครื่องพิมพ์กราวัวร์

4.    การปรับแรงตึงของม้วนวัสดุพิมพ์

(ค)    คำแนะนำในการประเมิน

N/A

(ง)    วิธีการประเมิน

N/A

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก)    คำแนะนำ 

1.    การปรับความตึงตามใบสั่งงาน

2.    การควบคุมความดึงม้วนให้สม่ำเสมอ

3.    การปรับแรงกดตามมาตรฐานที่กำหนด

4.    การปรับองศาของใบมีดตามลักษณะของเครื่อง

5.    การปรับระยะห่างใบมีดให้เหมาะสมกับลักษณะงานพิมพ์

6.    การปรับตั้งอุณหภูมิของหน่วยทำแห้ง

7.    การปรับความตึงของการเก็บม้วนตามใบสั่งงาน

8.    การควบคุมแรงตึงของการเก็บม้วน

9.    การตรวจสอบตำแหน่งภาพ

(ข)    คำอธิบายรายละเอียด

N/A

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1.    หลักฐานการปฏิบัติงานที่ต้องการ ได้แก่ ผลจากการสังเกตการณ์ในการปฏิบัติงาน/สาธิต กระบวนการปรับตั้งส่วนต่างๆ

2.    หลักฐานความรู้ที่ต้องการ ได้แก่ ผลการตอบปากเปล่าจาการสัมภาษณ์ และหรือผลการตอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้

 



ยินดีต้อนรับ