หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

วิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์แก้ปัญหาวิกฤตที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ PRT-YVHV-423A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ วิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์แก้ปัญหาวิกฤตที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2564

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

นักวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์​อาวุโส



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้เกี่ยวข้องกับทักษะการแก้วิกฤตปัญหาที่เกิดจากการบริหารโครงการวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ได้อย่างราบรื่น ทำให้โครงการสามารถสำเร็จได้ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้ประกอบวิชาชีพวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
นักวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์             รหัส ISCO-08-1223 ผู้จัดการด้านวิจัยและพัฒนา   (Research and Development Manager)

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
104031

วิเคราะห์ปัญหาวิกฤตที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์

1 รวบรวมปัญหาที่เกิดขึ้นในด้านงบประมาณ เครื่องมือการวิจัย นักวิจัย ระยะเวลาวิจัย และวิธีการวิจัยได้ครบถ้วน 

104031.01 161739
104031

วิเคราะห์ปัญหาวิกฤตที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์

2 วิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง ของผลกระทบของปัญหาที่เกิดขึ้นในการทำงานวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ได้

104031.02 161740
104032

ระบุโจทย์วิจัยและพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาวิกฤตที่เกี่ยวข้องกับ

บรรจุภัณฑ์

1 สามารถระบุโจทย์วิจัยจากความต้องการหรือปัญหาที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์ได้ 

104032.01 161741
104032

ระบุโจทย์วิจัยและพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาวิกฤตที่เกี่ยวข้องกับ

บรรจุภัณฑ์

2 ระบุปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับโจทย์วิจัยได้ครบถ้วน

104032.02 161742
104032

ระบุโจทย์วิจัยและพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาวิกฤตที่เกี่ยวข้องกับ

บรรจุภัณฑ์

3 กำหนดแนวทางในการทดสอบสมมติฐานแต่ละปัจจัยที่มีผลกระทบโดยตรงกับโจทย์วิจัย  

104032.03 161743
104032

ระบุโจทย์วิจัยและพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาวิกฤตที่เกี่ยวข้องกับ

บรรจุภัณฑ์

4 เลือกวิธีการดำเนินการวิจัยและพัฒนาตามที่กำหนดของแต่ละบริษัท

104032.04 161744
104033

ทำงานวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาอย่างมีระบบ

1 ประยุกต์ความรู้จากการตลาดและพฤติกรรมผู้บริโภคมาใช้ในการแก้ไขปัญหาการทำงานวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ได้อย่างมีระบบ

104033.01 161745
104033

ทำงานวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาอย่างมีระบบ

2 ประยุกต์ความรู้จากลอจิสติกส์มาใช้แก้ไขปัญหาการทำงานวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ได้อย่างมีระบบ

104033.02 161746
104033

ทำงานวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาอย่างมีระบบ

3 ประยุกต์ความรู้จากกฎเกณฑ์ ข้อกำหนดและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องมาใช้แก้ไขปัญหาการทำงานวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ได้อย่างมีระบบ

104033.03 161747

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

อ่านและเขียนภาษาไทยได้ และเข้าใจภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องได้


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

รู้จักการใช้เครื่องมือ ได้แก่ SWOT analysis, FMEA (failure mode effect  analysis), QFD (quality function deployment)

(ข) ความต้องการด้านความรู้

สมรรถนะการใช้งานบรรจุภัณฑ์



วัสดุบรรจุภัณฑ์



ระบบการพิมพ์บรรจุภัณฑ์



ระเบียบวิธิวิจัยและสถิติวิเคราะห์ข้อมูล


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



    - หลักฐานผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องการแก้ปัญหาบรรจุภัณฑ์



   - การบันทึกความเห็นของหัวหน้างาน



   - หลักฐานแสดงการวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากบรรจุภัณฑ์



   - หลักฐานขั้นตอนการทำการทดลอง อาทิกระบวนการทดสอบที่เป็นมาตรฐานของการทดสอบทางบรรจุภัณฑ์หรือประยุกต์มาตรฐานการทดสอบได้



   - หลักฐานการใช้เครื่องมือทางสถิติในการวิเคราะห์ผลการทดสอบ



   - หลักฐานแสดงการประมวลข้อมูล วิเคราะห์ผลการวิเคราะหฺปัจจัยที่มีผลกระทบโดยตรงกับโจทย์วิจัย



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



     ผลการตอบปากเปล่าจากการสัมภาษณ์ และหรือผลการสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ หลักฐานจากใบรับรอง (Certificate) ใบผ่านการอบรม แฟ้มสะสมงาน (Portfolio) ใบผ่านงาน และประกาศนียบัตร วุฒิบัตร และอื่นๆ ตามที่ภาคอุตสาหกรรมยอมรับ



(ค)คำแนะนำในการประเมิน



     -



(ง) วิธีการประเมิน      



   1. ประเมินจากตัวอย่างการจัดการโครงการ และ/หรือ บันทึกความเห็นของหัวหน้างาน หรือ



   2. ประเมินจากการนำเสนอกรณีตัวอย่าง


15. ขอบเขต (Range Statement)

คำแนะนำ



  -



คำอธิบายรายละเอียด



  -


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

การพิจารณาหลักฐาน หรือการประเมินผลการนำเสนอกรณีตัวอย่าง  



ยินดีต้อนรับ