หน่วยสมรรถนะ
ซ่อมบํารุงหมอนรองราง (Sleeper)
สาขาวิชาชีพระบบขนส่งทางราง
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | RAI-AAVJ-153B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ซ่อมบํารุงหมอนรองราง (Sleeper) |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / - |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
209 ช่างเทคนิคซ่อมบำรุงทางรถไฟ |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
หน่วยสมรรถนะนี้เกี่ยวข้องกับความรู้และทักษะที่ต้องการในการซ่อมบำรุงหมอนรองรางรถไฟ (Sleeper) ตามขั้นตอนการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยภายใต้นโยบายและข้อกำหนดของสถานที่ปฏิบัติงาน รวมทั้งสามารถจัดเตรียมเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการปฏิบัติงาน แก้ไข/ปรับตั้งระยะความกว้างของรางรถไฟหรือขนาดทาง (Track Gauge) ติดตั้งหรือเปลี่ยนหมอน (Sleeper) และจัดทำเอกสารเกี่ยวข้องกับงานได้อย่างเสร็จสมบูรณ์ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
อุตสาหกรรมระบบราง |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
20903.1 เตรียมเครื่องมือ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการซ่อมบํารุงหมอนรองราง |
1) เลือกวิธีการที่จะใช้ในการซ่อมบำรุงหมอน ให้สอดคล้องกับขั้นตอนและมาตรฐานของสถานที่ที่ต้องปฏิบัติงาน |
20903.1.01 | 157878 |
20903.1 เตรียมเครื่องมือ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการซ่อมบํารุงหมอนรองราง |
2) เตรียมความพร้อมของสถานที่ปฏิบัติงาน และวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการซ่อมบำรุง หมอนรองราง |
20903.1.02 | 157879 |
20903.2 เปลี่ยนและติดตั้งหมอนรองราง |
1) เปลี่ยนหมอนที่ชำรุดออกจากรางโดย วิธีการที่เหมาะสม |
20903.2.01 | 157880 |
20903.2 เปลี่ยนและติดตั้งหมอนรองราง |
2) จัดระยะห่างการเรียงตัว และความสูงของหมอนให้เป็นไปตามค่ามาตรฐานที่ยอมรับได้ |
20903.2.02 | 157881 |
20903.2 เปลี่ยนและติดตั้งหมอนรองราง |
3) เปลี่ยนเครื่องยึดเหนี่ยวรางที่ชำรุดหรือ เสื่อมคุณภาพได้ตามมาตรฐานที่กำหนด |
20903.2.03 | 157882 |
20903.2 เปลี่ยนและติดตั้งหมอนรองราง |
4) จัดใส่เครื่องยึดเหนี่ยวรางได้ถูกต้อง ครบถ้วนตามมาตรฐานที่กำหนด |
20903.2.04 | 157883 |
20903.3 แก้ไข/ปรับตั้งขนาดทาง (Track Gauge) |
1) แยกรางได้ตามขั้นตอนที่ระบุคู่มือการปฏิบัติงาน |
20903.3.01 | 157884 |
20903.3 แก้ไข/ปรับตั้งขนาดทาง (Track Gauge) |
2) แก้ไข/ปรับตั้งขนาดทาง (Track Gauge) ให้เป็นไปตามค่าพิกัดหรือมาตรฐานของขนาดทาง |
20903.3.02 | 157885 |
20903.3 แก้ไข/ปรับตั้งขนาดทาง (Track Gauge) |
3) ยกรางปรับระดับให้ได้ค่าพิกัด/มาตรฐานที่กำหนดในคู่มือการปฏิบัติงาน |
20903.3.03 | 157886 |
20903.4 ตรวจสอบความเรียบร้อยของงานหลังการซ่อมบํารุง |
1) ตรวจสอบระยะห่าง การเรียงตัว และความสูงของหมอนให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ยอมรับได้ |
20903.4.01 | 157887 |
20903.4 ตรวจสอบความเรียบร้อยของงานหลังการซ่อมบํารุง |
2) ตรวจสอบความเรียบร้อยของพื้นที่ปฏิบัติงานก่อนเปิดใช้ทาง |
20903.4.02 | 157888 |
20903.4 ตรวจสอบความเรียบร้อยของงานหลังการซ่อมบํารุง |
3) บันทึกผลการซ่อมบำรุงหมอนลงในแบบฟอร์มที่กำหนด |
20903.4.03 | 157889 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
00001 ปฏิบัติงานกับไฟฟ้าแรงสูงบนทางวิ่งรถไฟฟ้าตามหลักความปลอดภัย |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
(ข) ความต้องการด้านความรู้
|
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
(ค) คำแนะนำในการประเมิน วิธีการประเมิน
|
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ
(ข) คำอธิบายรายละเอียด
2. การซ่อมแซมหมอนอาจรวมถึง:
3. ชนิดของหมอนรองราง:
4. ระยะห่างของหมอนอาจจะแตกต่างกันเนื่องจาก:
5. การถอดและใส่หมอน:
6. ขอบเขตการปฏิบัติงานซ่อมบำรุงหมอน:
7. เครื่องมือที่ต้องใช้ในการซ่อมบำรุงหมอน:
8. วิธีการสื่อสารอาจรวมถึง:
9. การแจ้งข้อมูล:
10. เครื่องมือและอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลที่ต้องใช้ในระหว่างการปฏิบัติงาน:
11. ข้อมูล/เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง:
|
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
การประเมินในหน่วยสมรรถนะนี้ กำหนดให้เลือกใช้การประเมินจากวิธีดังต่อไปนี้ 1. เครื่องมือประเมินการเตรียมเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการซ่อมบำรุง
2. เครื่องมือประเมินการเปลี่ยนและติดตั้งหมอนรองราง
3. เครื่องมือประเมินการแก้ไข/ปรับตั้งขนาดทาง (Track Gauge)
4. เครื่องมือประเมินการตรวจสอบความเรียบร้อยของงานหลังการซ่อมบำรุง
|