หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ซ่อมประตูอัตโนมัติ

สาขาวิชาชีพระบบขนส่งทางราง


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ RAI-YDPG-142B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ซ่อมประตูอัตโนมัติ

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

207 ช่างเทคนิคซ่อมบำรุงระบบจัดเก็บค่าโดยสารอัตโนมัติ



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
       เข้าใจภาพรวมการทำงานของประตูอัตโนมัติ และระบบที่เกี่ยวข้อง สามารถปฏิบัติงานตามขั้นตอนการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และใช้เครื่องมือหรือเครื่องวัดต่างๆที่เกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อุตสาหกรรมระบบราง

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
1. อบรมหลักสูตรการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุงระบบจัดเก็บค่าโดยสารอัตโนมัติ2. ใบประกาศนียบัตรหลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับปฏิบัติการระดับหัวหน้างาน

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
20702.1

อ่านวงจร wiring diagram ของอุปกรณ์ ของประตูอัตโนมัติ

1) อ่านแบบ wiring diagram ของประตู อัตโนมัติตามคู่มือการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง

20702.1.01 157811
20702.2

ดูสถานะของอุปกรณ์ของประตูอัตโนมัติ

1) ใช้คำสั่งในการตรวจสอบสถานะของประตู อัตโนมัติตามคู่มือการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง

20702.2.01 157812
20702.2

ดูสถานะของอุปกรณ์ของประตูอัตโนมัติ

2) แปลความหมายของสถานะที่ปรากฏของ อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว

20702.2.02 157813
20702.3

ตรวจสอบอุปกรณ์ ตามรอบการซ่อมบํารุงของประตูอัตโนมัติ

1) ตรวจสอบเพื่อบำรุงรักษาชิ้นส่วนต่างๆ ของ อุปกรณ์ประตูอัตโนมัติตามคู่มือการ ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง

20702.3.01 157814
20702.3

ตรวจสอบอุปกรณ์ ตามรอบการซ่อมบํารุงของประตูอัตโนมัติ

2) จัดเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการ ตรวจสอบ ตามคู่มือการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง

20702.3.02 157815
20702.3

ตรวจสอบอุปกรณ์ ตามรอบการซ่อมบํารุงของประตูอัตโนมัติ

3) ปรับแต่งอุปกรณ์ที่มีค่าปรับแต่งต่างๆ ผิด จากปรกติให้กลับสู่ค่ามาตรฐานได้ ตามคู่มือ การปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง

20702.3.03 157816
20702.4

ถอด/ประกอบชิ้นส่วนต่างๆของประตูอัตโนมัติ

1) เตรียมอุปกรณ์ที่จะทำการเปลี่ยนและ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้องครบถ้วน ตามคู่มือการปฏิบัติงาน

20702.4.01 157817
20702.4

ถอด/ประกอบชิ้นส่วนต่างๆของประตูอัตโนมัติ

2) เตรียมเครื่องมือที่จำเป็นในการทำงานได้ อย่างถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงาน

20702.4.02 157818
20702.4

ถอด/ประกอบชิ้นส่วนต่างๆของประตูอัตโนมัติ

3) ถอด/ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ ตามคู่มือการ ปฏิบัติงานได้ถูกต้องภายในเวลาที่กำหนด

20702.4.03 157819
20702.4

ถอด/ประกอบชิ้นส่วนต่างๆของประตูอัตโนมัติ

4) ตั้งค่า ตั้งระดับและปรับแต่งชิ้นส่วนต่างๆได้ อย่างถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงาน

20702.4.04 157820
20702.5

ทดสอบและแก้ไขปัญหาการขัดข้องของประตูอัตโนมัติขัดข้องได้ภายในเวลาที่กําหนด

1) ใช้คำสั่งในการตรวจสอบสถานะของอุปกรณ์ ประตูอัตโนมัติ ตามคู่มือการปฏิบัติงานได้ อย่างถูกต้อง

20702.5.01 157821
20702.5

ทดสอบและแก้ไขปัญหาการขัดข้องของประตูอัตโนมัติขัดข้องได้ภายในเวลาที่กําหนด

2) ใช้เครื่องมือหรือใช้คำสั่งทดสอบต่างๆในการ ตรวจสอบหาปัญหาได้ตามคู่มือการ ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง

20702.5.02 157822
20702.5

ทดสอบและแก้ไขปัญหาการขัดข้องของประตูอัตโนมัติขัดข้องได้ภายในเวลาที่กําหนด

3) แก้ไขปัญหาภายในเวลาที่กำหนดและทดสอบการทำงานของอุปกรณ์ประตูอัตโนมัติ ตามคู่มือการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง

20702.5.03 157823

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

00000 ความปลอดภัยในการทำงานขั้นพื้นฐาน


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ทักษะการแปลความหมายของสถานะของอุปกรณ์ของประตูอัตโนมัติ

2. ทักษะการปรับแต่งอุปกรณ์เกี่ยวกับประตูอัตโนมัติ

3. ทักษะการถอด/ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ

4. ทักษะการแก้ไขปัญหาของอุปกรณ์

5. ทักษะการใช้งานอุปกรณ์ เช่น เครื่องมือช่างต่างๆ

6. มีความรู้เรื่อง wiring diagram และสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้ในเรื่องความผิดปกติและการบำรุงอุปกรณ์ต่างๆ

2. ความรู้ในเรื่องของสถานะของอุปกรณ์ที่มีปัญหา


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

     รายงานการปฏิบัติการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น Log Book, Check Sheet, Work Order, Weekly Report, Non-Available Record เป็นต้น

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)




  1. การตรวจสอบงาน บำรุงรักษาและ ซ่อมบำรุง จาก Program SAP

  2. การบันทึกเหตุการณ์ การตรวจสอบงาน บำรุงรักษาและ ซ่อมบำรุง จาก Log Book

  3. การวิเคราะห์ รวบรวมปัญหางานเพื่อบันทึก Weekly Report

  4. การวิเคราะห์ ตรวจสอบ อุปกรณ์ที่หยุดบริการเกินมาตรฐาน



(ค) คำแนะนำในการประเมิน

      ผู้ที่เข้ารับการประเมินในหน่วยสมรรถนะนี้ จะต้องแสดงหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้ ที่มีประเด็นและจุดสังเกตของหลักฐานสอดคล้องกับรายละเอียดที่ระบุไว้ในหน่วยสมรรถนะนี้



วิธีการประเมิน




  1. การประเมินความรู้และทักษะปฏิบัติในหน่วยสมรรถนะนี้ จะต้องดำเนินการโดยองค์กรที่มีหน้าที่รับการรับรองสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพที่ขึ้นทะเบียนเท่านั้น

  2. การประเมินความรู้ในหน่วยสมรรถนะนี้ กำหนดให้ทำการสอบข้อเขียนแบบปรนัย 4 ตัวเลือก ส่วนการประเมินทักษะการปฏิบัติงานนั้น กำหนดให้ทำการสัมภาษณ์ ก่อนสาธิตการปฏิบัติงานภายใต้การจำลองสถานการณ์ที่เหมาะสมกับการประเมิน หรืออาจจะพิจารณาจากแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ

     การปฏิบัติงาน บำรุงรักษาและ ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ระบบจัดเก็บค่าโดยสารอัตโนมัติ ที่ติดตั้งบนพื้นที่ต่างๆ ข้างต้นบนสถานีรถไฟฟ้า

(ข) คำอธิบายรายละเอียด




  1. แบบวงจรที่ใช้ หมายถึง แบบวงจรไฟฟ้า wiring diagram ของประตูอัตโนมัติ

  2. คู่มือการซ่อมบำรุง ได้แก่ คู่มือการบำรุงรักษาอุปกรณ์ของประตูอัตโนมัติ


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

การประเมินในหน่วยสมรรถนะนี้ กำหนดให้เลือกใช้การประเมินจากวิธีดังต่อไปนี้



1. เครื่องมือประเมินอ่านวงจร wiring diagram ของประตูอัตโนมัติ




  • ข้อสอบข้อเขียน แบบปรนัย 4 ตัวเลือก 

  • สาธิตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง

  • พิจารณาจากแฟ้มสะสมงาน (Portfolio)



2. เครื่องมือประเมินการดูสถานะของประตูอัตโนมัติ




  • ข้อสอบข้อเขียน แบบปรนัย 4 ตัวเลือก 

  • สาธิตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง

  • พิจารณาจากแฟ้มสะสมงาน (Portfolio)



3. เครื่องมือประเมินตรวจสอบอุปกรณ์ตามรอบการซ่อมบำรุงของประตูอัตโนมัติ




  • ข้อสอบข้อเขียน แบบปรนัย 4 ตัวเลือก 

  • สัมภาษณ์

  • สาธิตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง

  • พิจารณาจากแฟ้มสะสมงาน (Portfolio)



4. เครื่องมือประเมินถอด/ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ ของประตูอัตโนมัติ




  • ข้อสอบข้อเขียน แบบปรนัย 4 ตัวเลือก 

  • สัมภาษณ์

  • สาธิตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง

  • พิจารณาจากแฟ้มสะสมงาน (Portfolio)



5. เครื่องมือประเมินทดสอบและแก้ไขปัญหาการขัดข้องของประตูอัตโนมัติขัดข้องได้ภายในเวลาที่กำหนด




  • ข้อสอบข้อเขียน แบบปรนัย 4 ตัวเลือก 

  • สัมภาษณ์

  • สาธิตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง

  • พิจารณาจากแฟ้มสะสมงาน (Portfolio)



ยินดีต้อนรับ