หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

วางแผนและวิเคราะห์งานตรวจวัดรถไฟฟ้า (Measuring wheel profile)

สาขาวิชาชีพระบบขนส่งทางราง


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ RAI-OMAV-131B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ วางแผนและวิเคราะห์งานตรวจวัดรถไฟฟ้า (Measuring wheel profile)

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

205 ผู้วางแผนงานซ่อมบำรุงระบบช่วงล่างรถไฟฟ้าด้านระบบเครื่องกล



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
         เข้าใจภาพรวมงานตรวจวัดและแก้ไขล้อรถไฟฟ้าเป็นอย่างดี สามารถปฏิบัติงานตามขั้นตอนของคู่มือปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง ใช้เครื่องมือหรือเครื่องวัดต่างๆที่เกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และสามารถสอนงานช่างเทคนิคได้ รวมทั้งวิเคราะห์อาการ สืบหาสาเหตุและแก้ไขปัญหาได้

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อุตสาหกรรมระบบราง

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
20502.1

วิเคราะห์ความผิดปกติของล้อที่อยู่ใน Bogie

1) อ่านใบแจ้งซ่อมงานตรวจสอบความผิดปกติตามระยะเวลา ที่กำหนดในคู่มือการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง

20502.1.01 157683
20502.1

วิเคราะห์ความผิดปกติของล้อที่อยู่ใน Bogie

2) กำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวัด profile ล้อ ตามคู่มือการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง

20502.1.02 157684
20502.1

วิเคราะห์ความผิดปกติของล้อที่อยู่ใน Bogie

3) ใช้เครื่องมือในการตรวจวัด profile ล้อตามคู่มือการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง

20502.1.03 157685
20502.1

วิเคราะห์ความผิดปกติของล้อที่อยู่ใน Bogie

4) จดบันทึกค่าล้อที่วัดได้

20502.1.04 157686
20502.1

วิเคราะห์ความผิดปกติของล้อที่อยู่ใน Bogie

5) เปรียบเทียบค่าที่วัดได้กับค่ามาตรฐาน

20502.1.05 157687
20502.1

วิเคราะห์ความผิดปกติของล้อที่อยู่ใน Bogie

6) ให้คำปรึกษาจากประสบการณ์และความชำนาญแก่ผู้ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง

20502.1.06 157688
20502.2

วิเคราะห์สาเหตุของงานตรวจวัดและแก้ไขล้อรถไฟฟ้าที่ทําให้เกิดปัญหา

1) วางแผนและควบคุมขั้นตอนการทำงาน

20502.2.01 157689
20502.2

วิเคราะห์สาเหตุของงานตรวจวัดและแก้ไขล้อรถไฟฟ้าที่ทําให้เกิดปัญหา

2) วิเคราะห์สาเหตุหลักโดยใช้องค์ความรู้และนวัตกรรมที่ทำให้เกิดปัญหาได้อย่างถูกต้อง

20502.2.02 157690
20502.2

วิเคราะห์สาเหตุของงานตรวจวัดและแก้ไขล้อรถไฟฟ้าที่ทําให้เกิดปัญหา

3) ให้คำปรึกษาจากประสบการณ์และความชำนาญแก่ผู้ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง

20502.2.03 157691
20502.2

วิเคราะห์สาเหตุของงานตรวจวัดและแก้ไขล้อรถไฟฟ้าที่ทําให้เกิดปัญหา

4) ทำรายงานสรุปสาเหตุ

20502.2.04 157692
20502.3

ปรับปรุงการทํางานของงานตรวจวัดล้อรถไฟฟ้า เพื่อลดปัญหาให้น้อยลง

1) ปรับปรุงขั้นตอนการบำรุงรักษา Preventive maintenance

20502.3.01 157693
20502.3

ปรับปรุงการทํางานของงานตรวจวัดล้อรถไฟฟ้า เพื่อลดปัญหาให้น้อยลง

2) ใช้เทคโนโลยีวิเคราะห์ปรับปรุงระบบหรืออุปกรณ์ให้ได้ตามมาตรฐานได้อย่างถูกต้อง

20502.3.02 157694
20502.3

ปรับปรุงการทํางานของงานตรวจวัดล้อรถไฟฟ้า เพื่อลดปัญหาให้น้อยลง

3) ให้ความรู้และคำปรึกษาจากประสบการณ์และความชำนาญแก่ผู้ปฏิบัติงานเพิ่มเติม

20502.3.03 157695
20502.4

กํากับดูแลการซ่อมบํารุงงานตรวจวัดและแก้ไขล้อรถไฟฟ้า

1) วางแผนการซ่อมบำรุงอุปกรณ์ได้ชัดเจน ตามคู่มือการปฏิบัติงาน

20502.4.01 157696
20502.4

กํากับดูแลการซ่อมบํารุงงานตรวจวัดและแก้ไขล้อรถไฟฟ้า

2) กำกับดูแลการซ่อมบำรุงได้อย่างถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงาน

20502.4.02 157697
20502.4

กํากับดูแลการซ่อมบํารุงงานตรวจวัดและแก้ไขล้อรถไฟฟ้า

3) ให้คำปรึกษาจากประสบการณ์และความชำนาญแก่ผู้ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง

20502.4.03 157698

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

00000 ความปลอดภัยในการทำงานขั้นพื้นฐาน


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ทักษะในการใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการวัด profile ล้อ

2. ทักษะการตรวจสอบความผิดปกติของอุปกรณ์ ที่ใช้ในการวัด profile ล้อ

3. ทักษะในการบริหารเวลาให้งานสำเร็จ

4. ทักษะในการวิเคราะห์ปัญหาที่พบและตัดสินใจ

5. ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ในการสื่อสาร และจัดทำรายงาน

6. ทักษะการใช้ program computer

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้ในเรื่องของ spec ของ profile ของล้อ

2. ความรู้เกี่ยวกับการทำงานอย่างปลอดภัย


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

      รายงานการปฏิบัติการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น Log Book, Check Sheet เป็นต้น

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

      ประวัติการฝึกอบรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะนี้

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

      ผู้ที่เข้ารับการประเมินในหน่วยสมรรถนะนี้ จะต้องแสดงหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้ ที่มีประเด็นและจุดสังเกตของหลักฐานสอดคล้องกับรายละเอียดที่ระบุไว้ในหน่วยสมรรถนะนี้



วิธีการประเมิน




  1. การประเมินความรู้และทักษะปฏิบัติในหน่วยสมรรถนะนี้ จะต้องดำเนินการโดยองค์กรที่มีหน้าที่รับการรับรองสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพที่ขึ้นทะเบียนเท่านั้น

  2. การประเมินความรู้ในหน่วยสมรรถนะนี้ กำหนดให้ทำการสอบข้อเขียนแบบปรนัย 4 ตัวเลือก ส่วนการประเมินทักษะการปฏิบัติงานนั้น กำหนดให้ทำการสัมภาษณ์ ก่อนสาธิตการปฏิบัติงานภายใต้การจำลองสถานการณ์ที่เหมาะสมกับการประเมิน หรืออาจจะพิจารณาจากแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ

      การตรวจวัดและแก้ไขล้อรถไฟฟ้า ต้องปฏิบัติงานตามขั้นตอนของคู่มือปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง ใช้เครื่องมือหรือเครื่องวัดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และสามารถสอนงานช่างเทคนิคได้ รวมทั้งวิเคราะห์อาการ สืบหาสาเหตุและแก้ไขปัญหาได้



(ข) คำอธิบายรายละเอียด




  1. เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ ไฟฉาย เครื่องกลึงล้อ, รถลากเลื่อน, เครื่องมือช่าง, สารยึดแน่น, อะไหล่สำรอง และ under floor lifting ฯลฯ

  2. อุปกรณ์จดบันทึก ได้แก่ คอมพิวเตอร์ หรือแบบฟอร์มจดบันทึก

  3. เอกสารที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ใบแจ้งซ่อมงาน, ใบงาน และเอกสารขั้นตอนการทำงาน working card

  4. คู่มือการซ่อมบำรุง ได้แก่ คู่มือการซ่อมบำรุงรถไฟฟ้า

  5. โปรแกรมที่ใช้ คือ Computer Microsoft program และ SAP


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

การประเมินในหน่วยสมรรถนะนี้ กำหนดให้เลือกใช้การประเมินจากวิธีดังต่อไปนี้



1. เครื่องมือประเมินการวิเคราะห์ความผิดปกติของล้อที่อยู่ใน Bogie




  • ข้อสอบข้อเขียน แบบปรนัย 4 ตัวเลือก

  • สัมภาษณ์ หรือ

  • สาธิตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง หรือ

  • พิจารณาจากแฟ้มสะสมงาน (Portfolio)



2. เครื่องมือประเมินการวิเคราะห์สาเหตุของงานตรวจวัดและแก้ไขล้อรถไฟฟ้าที่ทำให้เกิดปัญหา




  • ข้อสอบข้อเขียน แบบปรนัย 4 ตัวเลือก

  • สัมภาษณ์ หรือ

  • สาธิตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง หรือ

  • พิจารณาจากแฟ้มสะสมงาน (Portfolio)



3. เครื่องมือประเมินการปรับปรุงการทำงานของงานตรวจวัดล้อรถไฟฟ้า เพื่อลดปัญหาให้น้อยลง




  • ข้อสอบข้อเขียน แบบปรนัย 4 ตัวเลือก

  • สัมภาษณ์ หรือ

  • สาธิตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง หรือ

  • พิจารณาจากแฟ้มสะสมงาน (Portfolio)



4. เครื่องมือประเมินการกำกับดูแลการซ่อมบำรุงงานตรวจวัดและแก้ไขล้อรถไฟฟ้า




  • ข้อสอบข้อเขียน แบบปรนัย 4 ตัวเลือก

  • สัมภาษณ์ หรือ

  • สาธิตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง หรือ

  • พิจารณาจากแฟ้มสะสมงาน (Portfolio)



ยินดีต้อนรับ