หน่วยสมรรถนะ
ประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด
สาขาวิชาชีพมาตรวิทยา
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | MAT-ZZZ-3-003ZA |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / - |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
N/A
|
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้มีความรู้ สามารถประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์และสถิติในการคำนวณความไม่แน่นอนของการวัดชนิดเอและชนิดบี ค่าความไม่แน่นอนรวมความไม่แน่นอนขยาย และรายงานสรุปค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
สาขาวิชาชีพมาตรวิทยา |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
- Guide to the expression of uncertainty in measurement,1993 โดย BIPM & ISO- บทเรียนมาตรวิทยา โดยสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
01A3101 สามารถประยุกต์สถิติสำหรับมาตรวิทยา | 1.สามารถประยุกต์ใช้งานคณิตศาสตร์และสถิติเบื้องต้นที่จำเป็นสำหรับงานด้านมาตรวิทยา | 01A3101.11 | 21044 |
01A3101 สามารถประยุกต์สถิติสำหรับมาตรวิทยา | 1.สามารถประยุกต์ใช้งานคณิตศาสตร์และสถิติเบื้องต้นที่จำเป็นสำหรับงานด้านมาตรวิทยา | 01A3101.01 | 123382 |
01A3101 สามารถประยุกต์สถิติสำหรับมาตรวิทยา | 1.สามารถระบุสาเหตุของความไม่แน่นอนชนิดเอ(TypeA) | 01A3101.02 | 123383 |
01A3101 สามารถประยุกต์สถิติสำหรับมาตรวิทยา | 2.สามารถระบุสาเหตุของความไม่แน่นอนชนิดบี(TypeB)ที่เกิดเครื่องมือวัด ค่าความคงตัวของเครื่องมือมาตรฐานความละเอียดจากการอ่านอิทธิพลเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและระบบโครงสร้างต่าง ฯลฯ | 01A3101.03 | 123384 |
01A3101 สามารถประยุกต์สถิติสำหรับมาตรวิทยา | 1.สามารถแปลงค่าความไม่แน่นอนต่างๆให้อยู่ในรูปค่าความไม่แน่นอนมาตรฐาน(standarduncertainty) | 01A3101.04 | 123385 |
01A3101 สามารถประยุกต์สถิติสำหรับมาตรวิทยา | 2.สามารถคำนวณค่าความไม่แน่นอนรวม (combinedstandard uncertainty) | 01A3101.05 | 123386 |
01A3101 สามารถประยุกต์สถิติสำหรับมาตรวิทยา | 3.สามารถคำนวณค่าความไว (sensitivitycoefficients) | 01A3101.06 | 123387 |
01A3101 สามารถประยุกต์สถิติสำหรับมาตรวิทยา | 4.สามารถคำนวณค่าองศาความเป็นอิสระ (Degree offreedom) | 01A3101.07 | 123388 |
01A3101 สามารถประยุกต์สถิติสำหรับมาตรวิทยา | 5.สามารถคำนวณหาค่าตัวประกอบร่วม (coverage kfactors) และ ระดับความเชื่อมั่น (confidence levels) | 01A3101.08 | 123389 |
01A3101 สามารถประยุกต์สถิติสำหรับมาตรวิทยา | 6.สามารถคำนวณค่าความไม่แน่นอนขยาย (Expandeduncertainty) | 01A3101.09 | 123390 |
01A3101 สามารถประยุกต์สถิติสำหรับมาตรวิทยา | 7.สามารถรายงานสรุปงบความไม่แน่นอน (uncertaintybudget) | 01A3101.10 | 123391 |
01A3102 สามารถจำแนกประเภทของความไม่แน่นอนของการวัด | 1.สามารถระบุสาเหตุของความไม่แน่นอนชนิดเอ(TypeA) | 01A3102.01 | 21045 |
01A3102 สามารถจำแนกประเภทของความไม่แน่นอนของการวัด | 2.สามารถระบุสาเหตุของความไม่แน่นอนชนิดบี(TypeB)ที่เกิดเครื่องมือวัด ค่าความคงตัวของเครื่องมือมาตรฐานความละเอียดจากการอ่านอิทธิพลเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและระบบโครงสร้างต่าง ฯลฯ | 01A3102.02 | 21046 |
01A3102 สามารถจำแนกประเภทของความไม่แน่นอนของการวัด | 1.สามารถประยุกต์ใช้งานคณิตศาสตร์และสถิติเบื้องต้นที่จำเป็นสำหรับงานด้านมาตรวิทยา | 01A3102.03 | 123392 |
01A3102 สามารถจำแนกประเภทของความไม่แน่นอนของการวัด | 1.สามารถระบุสาเหตุของความไม่แน่นอนชนิดเอ(TypeA) | 01A3102.04 | 123393 |
01A3102 สามารถจำแนกประเภทของความไม่แน่นอนของการวัด | 2.สามารถระบุสาเหตุของความไม่แน่นอนชนิดบี(TypeB)ที่เกิดเครื่องมือวัด ค่าความคงตัวของเครื่องมือมาตรฐานความละเอียดจากการอ่านอิทธิพลเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและระบบโครงสร้างต่าง ฯลฯ | 01A3102.05 | 123394 |
01A3102 สามารถจำแนกประเภทของความไม่แน่นอนของการวัด | 1.สามารถแปลงค่าความไม่แน่นอนต่างๆให้อยู่ในรูปค่าความไม่แน่นอนมาตรฐาน(standarduncertainty) | 01A3102.06 | 123395 |
01A3102 สามารถจำแนกประเภทของความไม่แน่นอนของการวัด | 2.สามารถคำนวณค่าความไม่แน่นอนรวม (combinedstandard uncertainty) | 01A3102.07 | 123396 |
01A3102 สามารถจำแนกประเภทของความไม่แน่นอนของการวัด | 3.สามารถคำนวณค่าความไว (sensitivitycoefficients) | 01A3102.08 | 123397 |
01A3102 สามารถจำแนกประเภทของความไม่แน่นอนของการวัด | 4.สามารถคำนวณค่าองศาความเป็นอิสระ (Degree offreedom) | 01A3102.09 | 123398 |
01A3102 สามารถจำแนกประเภทของความไม่แน่นอนของการวัด | 5.สามารถคำนวณหาค่าตัวประกอบร่วม (coverage kfactors) และ ระดับความเชื่อมั่น (confidence levels) | 01A3102.10 | 123399 |
01A3102 สามารถจำแนกประเภทของความไม่แน่นอนของการวัด | 6.สามารถคำนวณค่าความไม่แน่นอนขยาย (Expandeduncertainty) | 01A3102.11 | 123400 |
01A3102 สามารถจำแนกประเภทของความไม่แน่นอนของการวัด | 7.สามารถรายงานสรุปงบความไม่แน่นอน (uncertaintybudget) | 01A3102.12 | 123401 |
01A3103 ปฏิบัติตามขั้นตอนการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด | 1.สามารถแปลงค่าความไม่แน่นอนต่างๆให้อยู่ในรูปค่าความไม่แน่นอนมาตรฐาน(standarduncertainty) | 01A3103.11 | 21047 |
01A3103 ปฏิบัติตามขั้นตอนการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด | 2.สามารถคำนวณค่าความไม่แน่นอนรวม (combinedstandard uncertainty) | 01A3103.12 | 21048 |
01A3103 ปฏิบัติตามขั้นตอนการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด | 3.สามารถคำนวณค่าความไว (sensitivitycoefficients) | 01A3103.13 | 21049 |
01A3103 ปฏิบัติตามขั้นตอนการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด | 4.สามารถคำนวณค่าองศาความเป็นอิสระ (Degree offreedom) | 01A3103.14 | 21050 |
01A3103 ปฏิบัติตามขั้นตอนการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด | 5.สามารถคำนวณหาค่าตัวประกอบร่วม (coverage kfactors) และ ระดับความเชื่อมั่น (confidence levels) | 01A3103.15 | 21051 |
01A3103 ปฏิบัติตามขั้นตอนการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด | 6.สามารถคำนวณค่าความไม่แน่นอนขยาย (Expandeduncertainty) | 01A3103.16 | 21052 |
01A3103 ปฏิบัติตามขั้นตอนการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด | 7.สามารถรายงานสรุปงบความไม่แน่นอน (uncertaintybudget) | 01A3103.17 | 21053 |
01A3103 ปฏิบัติตามขั้นตอนการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด | 1.สามารถประยุกต์ใช้งานคณิตศาสตร์และสถิติเบื้องต้นที่จำเป็นสำหรับงานด้านมาตรวิทยา | 01A3103.01 | 123402 |
01A3103 ปฏิบัติตามขั้นตอนการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด | 1.สามารถระบุสาเหตุของความไม่แน่นอนชนิดเอ(TypeA) | 01A3103.02 | 123403 |
01A3103 ปฏิบัติตามขั้นตอนการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด | 2.สามารถระบุสาเหตุของความไม่แน่นอนชนิดบี(TypeB)ที่เกิดเครื่องมือวัด ค่าความคงตัวของเครื่องมือมาตรฐานความละเอียดจากการอ่านอิทธิพลเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและระบบโครงสร้างต่าง ฯลฯ | 01A3103.03 | 123404 |
01A3103 ปฏิบัติตามขั้นตอนการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด | 1.สามารถแปลงค่าความไม่แน่นอนต่างๆให้อยู่ในรูปค่าความไม่แน่นอนมาตรฐาน(standarduncertainty) | 01A3103.04 | 123405 |
01A3103 ปฏิบัติตามขั้นตอนการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด | 2.สามารถคำนวณค่าความไม่แน่นอนรวม (combinedstandard uncertainty) | 01A3103.05 | 123406 |
01A3103 ปฏิบัติตามขั้นตอนการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด | 3.สามารถคำนวณค่าความไว (sensitivitycoefficients) | 01A3103.06 | 123407 |
01A3103 ปฏิบัติตามขั้นตอนการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด | 4.สามารถคำนวณค่าองศาความเป็นอิสระ (Degree offreedom) | 01A3103.07 | 123408 |
01A3103 ปฏิบัติตามขั้นตอนการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด | 5.สามารถคำนวณหาค่าตัวประกอบร่วม (coverage kfactors) และ ระดับความเชื่อมั่น (confidence levels) | 01A3103.08 | 123409 |
01A3103 ปฏิบัติตามขั้นตอนการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด | 6.สามารถคำนวณค่าความไม่แน่นอนขยาย (Expandeduncertainty) | 01A3103.09 | 123410 |
01A3103 ปฏิบัติตามขั้นตอนการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด | 7.สามารถรายงานสรุปงบความไม่แน่นอน (uncertaintybudget) | 01A3103.10 | 123411 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
สามารถเข้าใจคำศัพท์พื้นฐานมาตรวิทยาทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการสอบเทียบเครื่องมือวัด |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. สามารถใช้ศัพท์มาตรวิทยาพื้นฐาน อย่างถูกต้อง 2. สามารถดำเนินการเรื่องการสอบกลับได้ (Traceability) ของเครื่องมือวัดและเครื่องวัดสภาวะแวดล้อม (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1.คำศัพท์มาตรวิทยาพื้นฐาน 2.เข้าใจการสอบกลับได้การสอบเทียบเครื่องมือวัด 3. หน่วยงานด้านมาตรวิทยาสากล |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. ประวัติการปฏิบัติงาน (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. ผลการสอบข้อเขียน 2. ใบรับรองการอบรมเกี่ยวกับมาตรวิทยา (ค) คำแนะนำในการประเมิน ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการใช้และความเข้าใจที่เกี่ยวข้องกับมาตรวิทยาทั่วไปการสอบเทียบ โดยพิจารณาจากหลักฐาน ที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้ (ง) วิธีการประเมิน 1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน 2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้ |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ การวัดทุกประเภทจะมีค่าความไม่แน่นอนของการวัดเกิดขึ้นรวมอยู่ในผลลัพธ์ของการวัดเสมอ ซึ่งเขียนเป็นสมการได้ดังนี้ Measured value = True value +/- Uncertainty (ข) คำอธิบายรายละเอียด ความไม่แน่นอนของการวัด จำแนกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ Type A คือ ความไม่แน่นอนที่สามารถประเมินได้ด้วยวิธีการทางสถิติ และ Type B คือความไม่แน่นอนอื่นๆ นอกเหนือจาก Type A |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
ข้อสอบข้อเขียนข้อสอบปรนัย จำนวน 20 และอัตนัย 6 ข้อ เวลา 60 นาที |