หน่วยสมรรถนะ
ตรวจประเมินทางด้านพัฒนาการในผู้สูงวัยที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมและพัฒนาการ
สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | HLT-JGUG-454A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ตรวจประเมินทางด้านพัฒนาการในผู้สูงวัยที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมและพัฒนาการ |
3. ทบทวนครั้งที่ | / |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
นักจิตวิทยาพัฒนาการผู้สูงวัย 1 2634 นักจิตวิทยา |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
หน่วยสมรรถนะนี้ประกอบไปด้วยความรู้และทักษะที่จำเป็นในการตรวจประเมินทางด้านพัฒนาการผู้สูงวัยที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมและพัฒนาการ โดยสามารถรวบรวมข้อมูลและประเมินพฤติกรรมและพัฒนาการผู้สูงวัยด้วยการสังเกตและการใช้เครื่องมือ และรายงานผลการประเมินพัฒนาการผู้สูงวัยในแง่ทั้งการประเมินและการถ่ายทอดถึงคนทั่วไป |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
ผู้ประกอบวิชาชีพด้านจิตวิทยาพัฒนาการผู้สูงวัย |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
10502.1
รวบรวมข้อมูลและประเมินพฤติกรรมและพัฒนาการในผู้สูงวัยที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมและพัฒนาการ |
1. ประเมินปัญหาเบื้องต้นโดยการสังเกตพฤติกรรมของผู้สูงวัย |
10502.1.01 | 154965 |
10502.1
รวบรวมข้อมูลและประเมินพฤติกรรมและพัฒนาการในผู้สูงวัยที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมและพัฒนาการ |
2. รวบรวมข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ของผู้สูงวัย โดยการสัมภาษณ์บุตรหลาน ผู้ดูแล และผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงวัย |
10502.1.02 | 154966 |
10502.1
รวบรวมข้อมูลและประเมินพฤติกรรมและพัฒนาการในผู้สูงวัยที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมและพัฒนาการ |
3. คัดเลือกเครื่องมือการประเมินที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ |
10502.1.03 | 154967 |
10502.1
รวบรวมข้อมูลและประเมินพฤติกรรมและพัฒนาการในผู้สูงวัยที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมและพัฒนาการ |
4. ดำเนินการตามขั้นตอนในการประเมินพัฒนาการผู้สูงวัยดังที่ระบุไว้ในคู่มือ และปรับเปลี่ยนแผนการดำเนินการตามความเหมาะสมเพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า |
10502.1.04 | 154968 |
10502.1
รวบรวมข้อมูลและประเมินพฤติกรรมและพัฒนาการในผู้สูงวัยที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมและพัฒนาการ |
5. ส่งต่อผู้เชี่ยวชาญในด้านอื่นหากพบปัญหาที่เกินขอบเขตความชำนาญ |
10502.1.05 | 154969 |
10502.1
รวบรวมข้อมูลและประเมินพฤติกรรมและพัฒนาการในผู้สูงวัยที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมและพัฒนาการ |
6. บ่งชี้ความแตกต่างของการประเมินพัฒนาการในผู้สูงวัยทั่วไปและผู้สูงวัยที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมและพัฒนาการ |
10502.1.06 | 154970 |
10502.2 รายงานผลการประเมินพัฒนาการในผู้สูงวัยที่มีความผิดปกติทางพัฒนาการ |
1. บันทึกข้อมูลการประเมินลงในแบบฟอร์มมาตรฐานหรือที่ออกแบบไว้อย่างเหมาะสม |
10502.2.01 | 154971 |
10502.2 รายงานผลการประเมินพัฒนาการในผู้สูงวัยที่มีความผิดปกติทางพัฒนาการ |
2. ตีความผลการประเมินตามคู่มือการใช้มาตรวัด/เครื่องมือ |
10502.2.02 | 154972 |
10502.2 รายงานผลการประเมินพัฒนาการในผู้สูงวัยที่มีความผิดปกติทางพัฒนาการ |
3. แจ้งผลการประเมินทางวาจาให้บุตรหลาน ผู้ดูแล หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงวัยที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมและพัฒนาการ อย่างชัดเจน ถูกต้อง และเข้าใจง่าย |
10502.2.03 | 154973 |
10502.2 รายงานผลการประเมินพัฒนาการในผู้สูงวัยที่มีความผิดปกติทางพัฒนาการ |
4. เขียนรายงานผลการประเมินพร้อมข้อเสนอแนะต่อบุตรหลาน ผู้ดูแลหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงวัยที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมและพัฒนาการ |
10502.2.04 | 154974 |
10502.2 รายงานผลการประเมินพัฒนาการในผู้สูงวัยที่มีความผิดปกติทางพัฒนาการ |
5. เลือกใช้หรือออกแบบรายงานการประเมินให้บุตรหลาน ผู้ดูแล หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงวัยอย่างชัดเจน ถูกต้อง และเข้าใจง่าย |
10502.2.05 | 154975 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
(ข) ความต้องการด้านความรู้
|
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
คำแนะนำในการประเมิน วิธีการประเมิน
|
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ขอบเขตการปฏิบัติงานในการตรวจประเมินทางด้านพัฒนาการในผู้สูงวัยที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมและพัฒนาการ เริ่มจากการรวบรวมข้อมูลและประเมินพฤติกรรมและพัฒนาการผู้สูงวัย ตั้งแต่การสังเกตพฤติกรรม การรวบรวมข้อมูลเชิงลึกจากผู้เกี่ยวข้อง เพื่อประเมินในเบื้องต้น และการประเมินด้วยเครื่องมือ การคัดเลือกเครื่องมือ จัดเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และบุคลากรในการประเมิน และดำเนินการตามขั้นตอนเพื่อประเมิน และปรับเปลี่ยนแผนการดำเนินการตามความเหมาะสม คำแนะนำ คำอธิบายรายละเอียด
|
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
|