หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ออกแบบกระสวนเครื่องดนตรีไทยคุณภาพสูง

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมบันเทิง


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ -USTY-037A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ออกแบบกระสวนเครื่องดนตรีไทยคุณภาพสูง

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ช่างผลิตเครื่องดนตรีไทย


1 7312 ช่างทำเครื่องดนตรีและปรับเสียงดนตรี

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
บุคคลผู้มีความรู้ ทักษะในการออกแบบกระสวนเครื่องดนตรีไทยคุณภาพสูง

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ช่างผลิตเครื่องดนตรีไทย

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
102111

ออกแบบกระสวนเครื่องดนตรีไทยเพื่อพัฒนาคุณภาพเครื่อง
ดนตรีไทย

1. ออกแบบกระสวนเครื่องดนตรีไทยเพื่อพัฒนาคุณภาพ
เครื่องดนตรีไทย 

102111.01 153688
102111

ออกแบบกระสวนเครื่องดนตรีไทยเพื่อพัฒนาคุณภาพเครื่อง
ดนตรีไทย

2. คำนวณและคาดการณ์คุณภาพเสียงของเครื่องดนตรีไทย

102111.02 153689
102112

สร้างกระสวนต้นแบบเครื่องดนตรีไทย

1. สร้างกระสวนต้นแบบเครื่องดนตรีไทย

102112.01 153690
102112

สร้างกระสวนต้นแบบเครื่องดนตรีไทย

2. ปรับปรุง แก้ไขกระสวนเครื่องดนตรีไทยจากคำแนะนำของ
ผู้เชี่ยวชาญ

102112.02 153691

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

-


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

-  ทักษะการออกแบบเพื่อพัฒนาเครื่องดนตรีไทย

(ข) ความต้องการด้านความรู้

-  ความรู้เกี่ยวกับสวนศาสตร์ (acoustics) เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องดนตรี 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

       -  หลักฐานภาพกระสวนเครื่องดนตรีไทยหรือตัวอย่างเครื่องดนตรีไทย

       -  เอกสารหรือใบรับรองการพัฒนาและออกแบบเครื่องดนตรีไทยจากผู้ทรงคุณวุฒิ

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

        -  ผลการสอบสัมภาษณ์



(ค) คำแนะนำในการประเมิน

       ประเมินผลเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับการออกแบบกระสวนเครื่องดนตรีไทย

 (ง)  วิธีการประเมิน

      -  สอบสัมภาษณ์หรือการสอบสาธิตการทำงานหรือการสังเกตการปฏิบัติงาน

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ

    ผู้รับการประเมินจะต้องแสดงความรู้และทักษะเกี่ยวกับการออกแบบกระสวนเครื่องดนตรีไทย

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

     1)  การออกแบบกระสวนเครื่องดนตรีไทย หมายถึง การจัดการปรับปรุงพัฒนาสัดส่วน รูปทรง ความยาว ความสั้น ความหนา ความบางของวัสดุเพื่อพัฒนาเชิงอนุรักษ์ต่อยอดจากภูมิปัญญาโบราณ โดยเน้นคุณภาพเสียงเป็นสำคัญ และไม่เสียเอกลักษณ์ของเครื่องดนตรีไทย

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือการประเมิน 

        1. แบบสัมภาษณ์

        2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานหรือแบบสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน

 



ยินดีต้อนรับ