หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

บริหารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานผลิตเครื่องดนตรีไทย

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมบันเทิง


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ -UAHX-036A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ บริหารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานผลิตเครื่องดนตรีไทย

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ช่างผลิตเครื่องดนตรีไทย


1 7312 ช่างทำเครื่องดนตรีและปรับเสียงดนตรี

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
บุคคลผู้ทำหน้าที่บริหารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานผลิตเครื่องดนตรีไทย

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ช่างผลิตเครื่องดนตรีไทย

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
102101

กำหนดแนวทางและการแก้ไขปัญหา

1. ตรวจสอบและวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงานได้
อย่างมีประสิทธิภาพ 

102101.01 153683
102101

กำหนดแนวทางและการแก้ไขปัญหา

2.แก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตมีการป้องกันอย่าง
เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ 

102101.02 153684
102102

ประเมินผลและควบคุมการปฏิบัติงาน

1. ใช้เครื่องมือการประเมินผลการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง เที่ยงตรง 

102102.01 153685
102102

ประเมินผลและควบคุมการปฏิบัติงาน

2. ประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างถูกต้องตามเกณฑ์อย่างมี
ประสิทธิภาพและตรวจสอบได้ 

102102.02 153686
102102

ประเมินผลและควบคุมการปฏิบัติงาน

3. นำผลการประเมินการปฏิบัติงานมีการไปใช้ควบคุมภายใน
หน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

102102.03 153687

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

-


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ปฏิบัติเกี่ยวกับการกำหนดแนวทางการแก้ไขและป้องกันปัญหา 

2. ปฏิบัติเกี่ยวกับประเมินผลและควบคุมการปฏิบัติงาน 

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. หลักการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน

2. การตรวจสอบสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน 

3. การประเมินระดับความรุนแรงของปัญหา 

4. การบริหารความเสี่ยง 

5. วิธีการแก้ไขปัญหา 

6. วิธีการป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต 

7. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ 

8. การกำหนดสมรรถนะในการปฏิบัติงาน 

9. เทคนิคการให้คำปรึกษา 

10. การจัดทำดัชนีชี้วัดในการปฏิบัติงาน 

11. การจัดทำแผนการพัฒนาบุคลากรรายบุคคล (IDP) 

12. การประเมินผลการปฏิบัติงาน 

13. การประเมินการปฏิบัติงาน 

14. การบริหารองค์กร 

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก )หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

     1. รายงานผลการวิเคราะห์ แนวทางการแก้ไขและป้องกันปัญหาในการปฏิบัติงาน 

     2. รายงานผลการประเมินการปฏิบัติงาน 

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

     -  เอกสารการนำเสนองานหรือการบรรยายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการขั้นสูง

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

       ประเมินเกี่ยวกับการบริหารจัดการขั้นสูง

(ง)  วิธีการประเมิน

      - พิจารณาหลักฐานความรู้ 

      - พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ

    1. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องกำหนดแนวทางการแก้ไขและการป้องกันปัญหา 

    2. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องประเมินผลและควบคุมการปฏิบัติงาน 

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

   1. กำหนดแนวทางการแก้ไขและป้องกันปัญหาในการปฏิบัติงานได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ 

   2. ประเมินผลและการควบคุมการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง เที่ยงตรง และมีประสิทธิภาพ

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือการประเมิน

         1. แบบสัมภาษณ์

 



ยินดีต้อนรับ