หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

จัดการเพิ่มมูลค่าเครื่องดนตรีไทยเชิงพานิชย์

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมบันเทิง


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ -MXVG-033A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ จัดการเพิ่มมูลค่าเครื่องดนตรีไทยเชิงพานิชย์

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ช่างผลิตเครื่องดนตรีไทย


1 7312 ช่างทำเครื่องดนตรีและปรับเสียงดนตรี

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
บุคคลผู้มีความรู้ ทักษะในการจัดการเพิ่มมูลค่าเครื่องดนตรีไทยเชิงพานิชย์

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ช่างผลิตเครื่องดนตรีไทย

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
102071

วางแผนจัดการเพิ่มมูลค่าเครื่องดนตรีไทยเชิงพานิชย์

1. สำรวจข้อมูลทางการตลาดที่เพื่อนำไปใช้วางแผนการเพิ่ม
มูลค่าเครื่องดนตรีไทยเชิงพานิชย์

102071.01 153607
102071

วางแผนจัดการเพิ่มมูลค่าเครื่องดนตรีไทยเชิงพานิชย์

2. ติดตามและประเมิน ดำเนินการ ตามแผนงานอย่างมี
ประสิทธิภาพ 

102071.02 153608
102072

กำหนดมูลค่าเครื่องดนตรีไทย

1. กำหนดราคาสินค้าจากการสำรวจตลาดที่จัด จำหน่าย
ผลิตภัณฑ์อย่างมีประสิทธิภาพ 

102072.01 153612
102072

กำหนดมูลค่าเครื่องดนตรีไทย

2. กำหนดมูลค่าเครื่องดนตรีไทย เพื่อการจำหน่ายได้อย่าง
ถูกต้องตามหลักการกำหนดราคา 

102072.02 153613
102073

จัดจำหน่ายเครื่องดนตรีไทยตามความต้องการของผู้ซื้อ

1. เลือกช่องทางการจำหน่าย อย่างถูกต้อง 

102073.01 153614
102073

จัดจำหน่ายเครื่องดนตรีไทยตามความต้องการของผู้ซื้อ

2. จัดทำผลการสำรวจความต้องการของ ลูกค้าได้อย่าง
ถูกต้องครบถ้วน 

102073.02 153615
102073

จัดจำหน่ายเครื่องดนตรีไทยตามความต้องการของผู้ซื้อ

3. จัดจำหน่ายสินค้าตามความต้องการของลูกค้าได้อย่าง
ถูกต้อง 

102073.03 153616
102073

จัดจำหน่ายเครื่องดนตรีไทยตามความต้องการของผู้ซื้อ

4. ส่งเสริม อนุรักษ์สินค้าที่จัดจำหน่ายได้อย่างถูกต้อง

102073.04 153617
102074

ออกแบบการบรรจุภัณฑ์ เครื่องดนตรีไทยให้ถูกต้อง ตรงตาม
ประเภทการขนส่งและจัดเก็บได้อย่างมีประสิทธิภาพ

1. เลือกคุณสมบัติของวัสดุที่เป็นบรรจุภัณฑ์ของเครื่องดนตรี
ไทยได้อย่างถูกต้อง 

102074.01 153714
102074

ออกแบบการบรรจุภัณฑ์ เครื่องดนตรีไทยให้ถูกต้อง ตรงตาม
ประเภทการขนส่งและจัดเก็บได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2. เลือกใช้บรรจุภัณฑ์ ให้ถูกต้องตรงกับชนิดของสินค้า 

102074.02 153715
102074

ออกแบบการบรรจุภัณฑ์ เครื่องดนตรีไทยให้ถูกต้อง ตรงตาม
ประเภทการขนส่งและจัดเก็บได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3. ตรวจสอบการบรรจุเครื่องดนตรีไทยเพื่อการจัดเก็บและ
ส่งมอบได้อย่างถูกต้อง 

102074.03 153716
102075

บริหารต้นทุนเพื่อผลิตเครื่องดนตรีไทย

1. คำนวณต้นทุน การผลิตเครื่องดนตรีไทย 

102075.01 153717
102075

บริหารต้นทุนเพื่อผลิตเครื่องดนตรีไทย

2.ควบคุมต้นทุนการผลิตเครื่องดนตรีไทยอย่างมีประสิทธิภาพ

102075.02 153718
102075

บริหารต้นทุนเพื่อผลิตเครื่องดนตรีไทย

3. ประเมินต้นทุนเพื่อการผลิตเครื่องดนตรีไทย เพื่อใช้ในการ
ตัดสินใจอย่างถูกต้อง 

102075.03 153719

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

-


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

-  ทักษะการวางแผนการเพิ่มมูลค่าเครื่องดนตรีไทย

-  ทักษะเกี่ยวกับกำหนดมูลค่าของเครื่องดนตรีไทยเพื่อการจำหน่าย บริหารจัดการธุรกิจ

-  ทักษะเกี่ยวกับจัดจำหน่ายเครื่องดนตรีไทยตามความต้องการของลูกค้า 

-  ทักษะเกี่ยวกับบรรจุผลิตภัณฑ์เครื่องดนตรีไทยเพื่อการจัดเก็บและส่งมอบผลิตภัณฑ์ 

-  ทักษะเกี่ยวกับการบริหารต้นทุนเพื่อการผลิตเครื่องดนตรีไทย

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

 -  ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนการตลาด 

 -  ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนเชิงกลยุทธ์ 

 -  ความรู้เกี่ยวกับการเทคนิคการเพิ่มมูลสินค้า

 -  ความรู้เกี่ยวกับการหลักการตลาด

 -  ความรู้เกี่ยวกับการการบรรจุภัณฑ์สินค้า

 -  ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยการตลาดเบื้องต้น

 -  ความรู้เกี่ยวกับการจัดการผลิตสินค้า 

 -  ความรู้เกี่ยวกับการบริหารต้นทุน 

 -  ความรู้เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง 

 -  ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลสินค้าเกี่ยวกับการอนุรักษ์

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

      -  รายงานผลการวางแผนการเพิ่มมูลค่าเครื่องดนตรีไทย

      -  รายงานผลการกำหนดมูลค่าของเครื่องดนตรีไทยเพื่อการจำหน่าย

      -  รายงานผลการจัดจำหน่ายเครื่องดนตรีไทยตามความต้องการของลูกค้า

      -  รายงานผลการจัดการบรรจุผลิตภัณฑ์เครื่องดนตรีไทยเพื่อการจัดเก็บและส่งมอบผลิตภัณฑ์

      -  รายงานผลการบริหารต้นทุนเพื่อการผลิตเครื่องดนตรีไทย



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

     -   แฟ้มสะสมผลงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเพิ่มมูลค่าของเครื่องดนตรีไทย               

     -   เอกสารการนำเสนองานหรือการบรรยายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเพิ่มมูลค่าเครื่องดนตรีไทย

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

        ประเมินเกี่ยวกับการจัดการเพิ่มมูลค่าของเครื่องดนตรีไทย

(ง)  วิธีการประเมิน

     -  พิจารณาหลักฐานความรู้ 

     -  พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ

   1. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องวางแผนการเพิ่มมูลค่าของเครื่องดนตรีไทย

   2. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องกำหนดมูลค่าเครื่องดนตรีไทยเพื่อการจำหน่าย 

   3. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องจัดจำหน่ายเครื่องดนตรีไทยตามความต้องการของลูกค้า 

   4. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องจัดการบรรจุผลิตภัณฑ์เครื่องดนตรีไทยเพื่อการจัดเก็บและส่งมอบผลิตภัณฑ์ 

   5. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องบริหารต้นทุนเพื่อการผลิตเครื่องดนตรีไทย

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

  1. การวางแผนการเพิ่มมูลค่าเครื่องดนตรีไทยโดยวิเคราะห์ตามหลัก ทฤษฎีการเพิ่มมูลค่าสินค้าได้อย่างถูกต้อง 

  2. การกำหนดมูลค่าเครื่องดนตรีไทยเพื่อการจำหน่ายโดยกำหนดราคากลางของสินค้าได้อย่างยุติธรรม 

  3. การจัดจำหน่ายเครื่องดนตรีไทยตามความต้องการของลูกค้า โดยการขายส่ง และขายปลีกตาม รายการความต้องการของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

  4. การจัดการบรรจุผลิตภัณฑ์เครื่องดนตรีไทยเพื่อการจัดเก็บและส่งมอบผลิตภัณฑ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

  5. การบริหารต้นทุนเพื่อการผลิตเครื่องดนตรีไทยอย่างมีประสิทธิภาพ

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือการประเมิน 

1. แบบสัมภาษณ์

2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน

 



ยินดีต้อนรับ