หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ผลิตส่วนประกอบหรืออุปกรณ์สำหรับบรรเลงเครื่องดนตรีไทย

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมบันเทิง


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ -NSGT-028A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ผลิตส่วนประกอบหรืออุปกรณ์สำหรับบรรเลงเครื่องดนตรีไทย

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ช่างผลิตเครื่องดนตรีไทย


1 7312 ช่างทำเครื่องดนตรีและปรับเสียงดนตรี

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
บุคคลผู้มีความรู้ ทักษะในการผลิตส่วนประกอบหรืออุปกรณ์สำหรับบรรเลงเครื่องดนตรีไทย

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ช่างผลิตเครื่องดนตรีไทย

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
102021

คัดเลือก ประเมิน วัตถุดิบเหมาะกับส่วนประกอบหรืออุปกรณ์
สำหรับบรรเลงเครื่องดนตรีไทย

1. คัดเลือกวัตถุดิบได้เหมาะสมกับส่วนประกอบของเครื่อง
ดนตรีนั้น ๆ

102021.01 153448
102021

คัดเลือก ประเมิน วัตถุดิบเหมาะกับส่วนประกอบหรืออุปกรณ์
สำหรับบรรเลงเครื่องดนตรีไทย

2. ประเมินวัตถุดิบเพื่อนำไปใช้ให้ได้คุณภาพและประโยชน์
สูงสุด

102021.02 153449
102022

แก้ไขข้อบกพร่องของวัตถุดิบ

1. ตรวจสอบหาจุดข้อบกพร่องของวัตถุดิบ 

102022.01 153450
102022

แก้ไขข้อบกพร่องของวัตถุดิบ

2. ใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของวัตถุดิบ

102022.02 153451
102023

ผลิตส่วนประกอบ หรืออุปกรณ์สำหรับบรรเลงเครื่องดนตรี
ไทยได้ถูกต้องตามกระสวนอย่างมีมาตรฐาน

1. ใช้เครื่องมือผลิตส่วนประกอบ หรืออุปกรณ์สำหรับบรรเลง
เครื่องดนตรีไทยได้ถูกต้องตามกระสวนอย่างมีมาตรฐาน

102023.01 153452
102023

ผลิตส่วนประกอบ หรืออุปกรณ์สำหรับบรรเลงเครื่องดนตรี
ไทยได้ถูกต้องตามกระสวนอย่างมีมาตรฐาน

2. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของงาน

102023.02 153453

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

-


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

-  ทักษะการคัดเลือกวัตถุดิบให้เหมาะสมกับส่วนประกอบหรืออุปกรณ์สำหรับบรรเลงเครื่องดนตรีไทย

-  ทักษะการแก้ไขข้อบกพร่องของวัตถุดิบ

-  ทักษะการผลิตส่วนประกอบหรืออุปกรณ์สำหรับบรรเลงเครื่องดนตรีไทยให้ตรงตามกระสวน

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

-  ความรู้เกี่ยวกับส่วนประกอบเครื่องดนตรีไทย

-  ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์สำหรับบรรเลงเครื่องดนตรีไทย

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

      -  ภาพหลักฐานหรือตัวอย่างส่วนประกอบหรืออุปกรณ์สำหรับบรรเลงเครื่องดนตรีไทย

      -  เอกสารหรือใบรับรองประสบการณ์ทำงานจากผู้เชี่ยวชาญ

(ข ) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

      -  ผลการสอบข้อเขียน

     -   ผลการสอบสัมภาษณ์

(ค ) คำแนะนำในการประเมิน

        ประเมินผลเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับการส่วนประกอบหรืออุปกรณ์สำหรับบรรเลงเครื่องดนตรีไทย

(ง)  วิธีการประเมิน

   -    สอบสัมภาษณ์หรือการสอบสาธิตการทำงานหรือการสังเกตการปฏิบัติงาน

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ

ผู้รับการประเมินจะต้องแสดงความรู้และทักษะเกี่ยวกับการผลิตส่วนประกอบหรืออุปกรณ์สำหรับบรรเลงเครื่องดนตรีไทย

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

     1)  ส่วนประกอบเครื่องดนตรีไทย หมายถึง ชิ้นส่วน ส่วนหนึ่งที่เมื่อนำมารวมกันแล้วจะเป็นของเครื่องดนตรีไทยประเภทต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น ส่วนประกอบของจะเข้ได้แก่ นม รางไหม เท้า โต๊ะ หย่อง ส่วนประกอบของซอ ได้แก่ หมอน สาย ลูกบิด ทวน กระบอก กะโหลกเป็นต้น ส่วนประกอบของฆ้องวง ได้แก่ ลูกมะหวด ลูกฆ้อง หวาย ร้านฆ้อง โขนฆ้อง เป็นต้น ส่วนประกอบของปี่ ได้แก่ กำพวด ลิ้น ลำโพง กระบังลม 

     2)  อุปกรณ์สำหรับบรรเลงเครื่องดนตรีไทย หมายถึง สิ่งที่ใช้กริยากระทำเพื่อทำให้เกิดเสียง เช่น 

ไม้ดีด คันชัก ไม้ตี 

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือการประเมิน 

        1. แบบสัมภาษณ์

        2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานหรือแบบสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน

 



ยินดีต้อนรับ