หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

จัดรูปแบบของวงดนตรี เพลง และผู้บรรเลงให้เหมาะสมกับลักษะของงาน

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมบันเทิง


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ -PRKA-021A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ จัดรูปแบบของวงดนตรี เพลง และผู้บรรเลงให้เหมาะสมกับลักษะของงาน

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

นักดนตรี นักร้อง และนักประพันธ์เพลง รหัส 2652


1 2652 นักดนตรี นักร้อง และนักประพันธ์เพลง

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
เป็นผู้ที่มีความรู้ในหลักวิธีการจัดรูปแบบของวงดนตรี เพลง และผู้บรรเลงให้เหมาะสมกับลักษะของงาน

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
นักดนตรี

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
-

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
-

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
101091

อธิบายหลักวิธีการจัดรูปแบบวงและเพลงและคัดเลือก
ผู้บรรเลงได้เหมาะสมกับลักษณะของงาน

1.แสดงแนวคิดถึงวิธีการจัดรูปแบบวงและบทเพลงรวมถึงการคัดเลือกผู้บรรเลงให้เหมาะสมกับรูปแบบของงานต่างๆ 

101091.01 153413
101091

อธิบายหลักวิธีการจัดรูปแบบวงและเพลงและคัดเลือก
ผู้บรรเลงได้เหมาะสมกับลักษณะของงาน

2.บรรยายบทบาทหน้าที่และความสำคัญของเครื่องดนตรีแต่
ละชิ้นภายในวงดนตรีที่ตนเองเลือก

101091.02 153414
101091

อธิบายหลักวิธีการจัดรูปแบบวงและเพลงและคัดเลือก
ผู้บรรเลงได้เหมาะสมกับลักษณะของงาน

3.บรรยายคุณสมบัติของผู้บรรเลงที่มีคุณลักษณะเหมาะสมกับงาน

101091.03 153415
101091

อธิบายหลักวิธีการจัดรูปแบบวงและเพลงและคัดเลือก
ผู้บรรเลงได้เหมาะสมกับลักษณะของงาน

4.บรรยายคุณสมบัติของผู้บรรเลงที่มีคุณลักษณะเหมาะสมกับวงดนตรี

101091.04 153416
101092

จัดวงดนตรี ผู้บรรเลงและบทเพลงได้ถูกต้องตามรูปแบบของ
ลักษณะงาน

1. บรรยาย กระบวนการการรับจัดงานการบรรเลงได้อย่าง
เป็นระบบ

101092.01 153417
101092

จัดวงดนตรี ผู้บรรเลงและบทเพลงได้ถูกต้องตามรูปแบบของ
ลักษณะงาน

2. บรรยาย วิธีการบริหารจัดการวงดนตรีได้ตามสถานการณ์
ที่กำหนดให้ได้อย่างเหมาะสม

101092.02 153418
101093

บริหารจัดการปัญหาหรือประยุกต์รูปแบบวงดนตรีได้ตาม
สถานการณ์

1. บรรยาย วิธีการจัดวงดนตรีทั้งในรูปแบบดั้งเดิมและ
สมัยนิยม

101093.01 153419
101093

บริหารจัดการปัญหาหรือประยุกต์รูปแบบวงดนตรีได้ตาม
สถานการณ์

2. วิเคราะห์สถานการณ์ที่กำหนดให้ เพื่อจัดการปัญหาหรือ
ประยุกต์รูปแบบวงดนตรีเพื่อลดผลกระทบที่ก่อให้เกิดต่อการ
บริหารจัดการวงดนตรีได้อย่างเหมาะสม

101093.02 153420

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

-


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

- ทักษะการสื่อสาร

(ข) ความต้องการด้านความรู้

- ด้านการจัดการรูปแบบวงดนตรี


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก)    หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

         - ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหวขณะบรรเลงดนตรีของผู้ขอรับการประเมิน

 (ข)    หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

         - 

 (ค) คำแนะนำในการประเมิน

         -

 (ง) วิธีการประเมิน

      ตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐาน

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก)    คำแนะนำ

ผู้จะเข้ามาทดสอบจะต้องแสดงความรู้วิธีการจัดรูปแบบของวงดนตรี เพลง และผู้บรรเลงให้เหมาะสมกับลักษะของงาน อย่างเป็นระบบ

 (ข)    คำอธิบายรายละเอียด

รูปแบบวง หมายถึง รูปแบบของวงดนตรีที่เป็นที่ยอมรับและนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย

การจัดการวงหมายถึง หมายถึง การบริหารจัดการที่เกี่ยวข้องกับ รับงาน ที่ประกอบด้วย งบประมาณ เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลง ผู้บรรเลง เพลงที่เหมาะสมกับงาน ระยะเวลาและพาหนะในการเดินทาง รายการและเวลาในการบรรเลง อาหารและที่พักผู้บรรเลง เป็นต้น 

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
-

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
-

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 วิธีการประเมิน

        - สัมภาษณ์

18.2 เครื่องมือ

        - แบบสัมภาษณ์ 

        - ตัวอย่างสถานการณ์จำลอง  

 



ยินดีต้อนรับ