หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

บรรเลงเครื่องดนตรีเพิ่มเติมจากที่ตนเองถนัดได้ถูกต้องตามหลักวิธีการบรรเลง

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมบันเทิง


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ -CCYK-018A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ บรรเลงเครื่องดนตรีเพิ่มเติมจากที่ตนเองถนัดได้ถูกต้องตามหลักวิธีการบรรเลง

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

นักดนตรี นักร้อง และนักประพันธ์เพลง รหัส 2652


1 2652 นักดนตรี นักร้อง และนักประพันธ์เพลง

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
 เป็นผู้ที่มีทักษะการบรรเลงเครื่องดนตรีเพิ่มเติมจากที่ตนเองถนัดได้ถูกต้องตามหลักวิธีการบรรเลง

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
นักดนตรี

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
-

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
-

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
101061

บรรเลงเครื่องดนตรีที่เลือกจากที่ตนเองถนัดได้ถูกต้องตาม
วิธีการบรรเลง

1. ตรวจสอบและเลือกใช้เครื่องดนตรี พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
ในการเลือก/ไม่เลือก เครื่องดนตรีเพิ่มเติมจากเครื่องดนตรีที่
ตนเองถนัด

101061.01 153394
101061

บรรเลงเครื่องดนตรีที่เลือกจากที่ตนเองถนัดได้ถูกต้องตาม
วิธีการบรรเลง

2. เทียบเสียง/บอกระดับเสียง (เพี้ยน/ไม่เพี้ยน)ของเครื่อง
ดนตรีเพิ่มเติมจากเครื่องดนตรีที่ตนเองถนัด ตามระดับ
มาตรฐานของเครื่องดนตรีนั้นๆ

101061.02 153395
101061

บรรเลงเครื่องดนตรีที่เลือกจากที่ตนเองถนัดได้ถูกต้องตาม
วิธีการบรรเลง

3. ปฏิบัติท่านั่ง ท่าจับ เครื่องดนตรีเพิ่มเติมจากเครื่องดนตรีที่
ตนเองถนัด

101061.03 153396
101061

บรรเลงเครื่องดนตรีที่เลือกจากที่ตนเองถนัดได้ถูกต้องตาม
วิธีการบรรเลง

4. บรรเลงเพลงโหมโรง 1 เพลง หรือเพลงที่ใช้บรรเลงเป็นใน
เพลงแรก (เพลงโชว์วง) ด้วยเครื่องดนตรีเพิ่มเติมจากเครื่อง
ดนตรีที่ตนเองถนัดโดยใช้ความจำ

101061.04 153397
101061

บรรเลงเครื่องดนตรีที่เลือกจากที่ตนเองถนัดได้ถูกต้องตาม
วิธีการบรรเลง

5. บรรเลงเพลงเถา 1 เพลง หรือเพลงที่ใช้บรรเลงที่นิยมใช้
บรรเลงทั่วไป ด้วยเครื่องดนตรีเพิ่มเติมจากเครื่องดนตรีที่
ตนเองถนัดโดยใช้ความจำ

101061.05 153398
101061

บรรเลงเครื่องดนตรีที่เลือกจากที่ตนเองถนัดได้ถูกต้องตาม
วิธีการบรรเลง

6. บรรเลงเพลงลา 1 เพลง  หรือ เพลงที่ใช้บรรเลงเป็นเพลง
สุดท้ายด้วยเครื่องดนตรีเพิ่มเติมจากเครื่องดนตรีที่ตนเอง
ถนัดโดยใช้ความจำ

101061.06 153399
101062

บรรเลงทาง ตบแต่งทำนอง สำเนียง และอารมณ์เพลงของ
เครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกเพิ่มเติมได้เหมาะสมตามบทบาท
หน้าที่ของเครื่องดนตรีตามประเภทของวง

1. บรรเลงเพลง ด้วยการแปรทาง  ให้เหมาะสมเหมาะสมกับ
บทบาทหน้าที่ของเครื่องดนตรีตามประเภทของวงที่ตนเอง
เลือก

101062.01 153400
101062

บรรเลงทาง ตบแต่งทำนอง สำเนียง และอารมณ์เพลงของ
เครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกเพิ่มเติมได้เหมาะสมตามบทบาท
หน้าที่ของเครื่องดนตรีตามประเภทของวง

2. บรรเลงเพลง ด้วยการตบแต่งให้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่
ของเครื่องดนตรีตามประเภทของวงดนตรีที่เลือก

101062.02 153401
101062

บรรเลงทาง ตบแต่งทำนอง สำเนียง และอารมณ์เพลงของ
เครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกเพิ่มเติมได้เหมาะสมตามบทบาท
หน้าที่ของเครื่องดนตรีตามประเภทของวง

3. บรรเลงเพลง ด้วยทำนองให้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ของ
เครื่องดนตรีตามประเภทของวงที่ตนเองเลือก

101062.03 153402
101062

บรรเลงทาง ตบแต่งทำนอง สำเนียง และอารมณ์เพลงของ
เครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกเพิ่มเติมได้เหมาะสมตามบทบาท
หน้าที่ของเครื่องดนตรีตามประเภทของวง

4. บรรเลงเครื่องดนตรีให้เกิดสำเนียงได้เหมาะสมกับบทเพลง 

101062.04 153403
101062

บรรเลงทาง ตบแต่งทำนอง สำเนียง และอารมณ์เพลงของ
เครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกเพิ่มเติมได้เหมาะสมตามบทบาท
หน้าที่ของเครื่องดนตรีตามประเภทของวง

5. บรรเลงเครื่องดนตรี ให้เกิดอารมณ์เพลงได้เหมาะสมกับ
บทเพลง 

101062.05 153404

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

-


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

- ทักษะการสังเกต

- ทักษะการสื่อสาร

- ทักษะการฟัง

- ทักษะการจำ

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

- ความถูกต้องของระดับเสียงเครื่องดนตรีที่ใช้ในการเข้ารับการประเมิน

- ประเภทของเพลง

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก)     หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

        - ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหวขณะบรรเลงดนตรีของผู้ขอรับการประเมิน

 (ข)    หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

         - 

 (ค) คำแนะนำในการประเมิน

         -

 (ง) วิธีการประเมิน

      ตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐาน

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก)    คำแนะนำ

ผู้จะเข้ามาทดสอบจะต้องแสดงทักษะปฏิบัติเกี่ยวกับการตรวจสอบหรือเทียบเสียงเครื่องดนตรี นั่งและการจับเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกบรรเลงได้ถูกต้อง เพิ่มเติมจากเครื่องดนตรีที่ตนเองถนัด พร้อมทั้งเตรียมบทเพลงตามประเภทของเพลงที่กำหนด  

 (ข)    คำอธิบายรายละเอียด

ระดับเสียง หมายถึง เสียงที่เกิดขึ้นจากการเทียบเสียงเครื่องดนตรี ที่อยู่ระดับเสียงที่ถูกต้องของเครื่องดนตรีนั้น ๆ 

ท่านั่ง ท่าจับ หมายถึง ลักษณะของการทรงตัวของกายภาพผู้ประเมิน ที่ถูกต้องเหมาะสมกับการบรรเลงเครื่องดนตรีนั้นๆ  

ตบแต่งทำนองหมายถึง ลักษณะการดำเนินทำนองที่เหมาะสมกับการบรรเลงเครื่องดนตรีชนิดนั้นๆ โดยยังรักษาโครงสร้างของทำนองเพลงไว้อย่างครบถ้วน เช่น ลูกตกในแต่ละประโยคของเพลง และกลุ่มเสียงที่ใช้ในการดำเนินทำนอง เป็นต้น

สำเนียง อารมณ์ หมายถึง ลักษณะของทำนองที่สามารถสื่ออารมณ์ได้อย่างเหมาะสมกับทำนองเพลง แสดงให้ผู้ฟังรับรู้ได้ถึงเจตนารมณ์ของบทเพลง

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
-

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
-

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 วิธีการประเมิน

        - สาธิต

18.2 เครื่องมือ

        - แบบประเมินผล

 



ยินดีต้อนรับ