หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

บรรเลงเครื่องดนตรีที่ตนเองถนัดร่วมกับเครื่องดนตรีอื่นๆในวง

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมบันเทิง


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ -JSIB-014A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ บรรเลงเครื่องดนตรีที่ตนเองถนัดร่วมกับเครื่องดนตรีอื่นๆในวง

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

นักดนตรี นักร้อง และนักประพันธ์เพลง รหัส 2652


1 2652 นักดนตรี นักร้อง และนักประพันธ์เพลง

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
เป็นผู้มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกบรรเลง

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
นักดนตรี

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
-

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
-

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
101021

อธิบายหลักวิธีการรวมวงของวงดนตรีที่ตนเองเลือกและ
บทบาทหน้าที่ของเครื่องดนตรีต่างๆภายในวงดนตรี

1. บอกลักษณะของหลักวิธีการรวมวงดนตรีตามขนบหรือ
ประเภทวงดนตรีต่างๆ

101021.01 153364
101021

อธิบายหลักวิธีการรวมวงของวงดนตรีที่ตนเองเลือกและ
บทบาทหน้าที่ของเครื่องดนตรีต่างๆภายในวงดนตรี

2. บอกวิธีการรวมวงที่เหมาะสมกับลักษณะเครื่องดนตรีที่
ตนเองเลือกบรรเลง

101021.02 153365
101021

อธิบายหลักวิธีการรวมวงของวงดนตรีที่ตนเองเลือกและ
บทบาทหน้าที่ของเครื่องดนตรีต่างๆภายในวงดนตรี

3. บอกบทบาทหน้าที่และความสำคัญของเครื่องดนตรีที่
ตนเองเลือก

101021.03 153366
101021

อธิบายหลักวิธีการรวมวงของวงดนตรีที่ตนเองเลือกและ
บทบาทหน้าที่ของเครื่องดนตรีต่างๆภายในวงดนตรี

4. บอกบทบาทหน้าที่และความสำคัญของเครื่องดนตรีแต่ละ
ชิ้นภายในวงดนตรีที่ตนเองเลือก

101021.04 153367
101021

อธิบายหลักวิธีการรวมวงของวงดนตรีที่ตนเองเลือกและ
บทบาทหน้าที่ของเครื่องดนตรีต่างๆภายในวงดนตรี

5. บอกความสัมพันธ์ระหว่างเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกกับ
เครื่องดนตรีอื่นๆภายในวงดนตรีที่ตนเองเลือก


101021.05 153368
101022

อธิบายจังหวะหรือแนวที่ใช้ในการบรรเลง  

1. บอกอัตราจังหวะหรือแนวที่ใช้ในการบรรเลงสำหรับการ
บรรเลงดนตรีที่ไม่มีการขับร้อง

101022.01 153374
101022

อธิบายจังหวะหรือแนวที่ใช้ในการบรรเลง  

2. บอกจังหวะหรือแนวที่ใช้ในการบรรเลงสำหรับการ
บรรเลง
ดนตรีที่มีการขับร้อง

101022.02 153375
101023

บรรเลงเครื่องดนตรีถูกต้องตามตำแหน่งเสียงของเครื่อง
ดนตรีและตบแต่งทำนองได้เหมาะสมกับเครื่องดนตรีที่
ตนเองเลือกและสอดคล้องกับเครื่องดนตรีอื่นๆภายในวง

1. บรรเลงเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือก ถูกต้องตามตำแหน่ง
เสียงเหมาะสมกับวิธีการบรรเลงของเครื่องดนตรี และ
เหมาะสมกับเพลง

101023.01 153376
101023

บรรเลงเครื่องดนตรีถูกต้องตามตำแหน่งเสียงของเครื่อง
ดนตรีและตบแต่งทำนองได้เหมาะสมกับเครื่องดนตรีที่
ตนเองเลือกและสอดคล้องกับเครื่องดนตรีอื่นๆภายในวง

2. บรรเลงเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกสอดคล้องกับเครื่อง
ดนตรีอื่นที่กำหนดให้ (ความกลมกลืนของการบรรเลง
ร่วมกัน)

101023.02 153377
101023

บรรเลงเครื่องดนตรีถูกต้องตามตำแหน่งเสียงของเครื่อง
ดนตรีและตบแต่งทำนองได้เหมาะสมกับเครื่องดนตรีที่
ตนเองเลือกและสอดคล้องกับเครื่องดนตรีอื่นๆภายในวง

3. ปฏิบัติเครื่องดนตรีด้วยทำนองที่มีการการตบแต่งตาม
หลัก
วิธีการบรรเลงของเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือก

101023.03 153378
101023

บรรเลงเครื่องดนตรีถูกต้องตามตำแหน่งเสียงของเครื่อง
ดนตรีและตบแต่งทำนองได้เหมาะสมกับเครื่องดนตรีที่
ตนเองเลือกและสอดคล้องกับเครื่องดนตรีอื่นๆภายในวง

4. ปฏิบัติเครื่องดนตรีด้วยทำนองที่มีการการตบแต่งตาม
หลัก
วิธีการบรรเลงของเครื่องดนตรีที่ตนเองเลือกสอดคล้อง
กับ
เครื่องดนตรีอื่นๆภายในวง

101023.04 153379

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

-


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

- ทักษะการบรรเลงร่วมกับผู้อื่น

(ข) ความต้องการด้านความรู้

    - หลักวิธีการรวมวงของวงดนตรีที่ตนเองเลือก

    - บทบาทหน้าที่ของเครื่องดนตรีต่างๆภายในวงดนตรี

    - จังหวะหรือแนวที่ใช้ในการบรรเลง  

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก)     หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

        - ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหวขณะบรรเลงดนตรีของผู้ขอรับการประเมิน

 (ข)    หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

          - 

 (ค) คำแนะนำในการประเมิน

        - ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว ต้องเป็นภาพที่บันทึกไม่เกิน 5 ปี

 (ง) วิธีการประเมิน

       ตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐาน ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหวตรงกับหลักฐานที่ส่งให้

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก)    คำแนะนำ

ผู้จะเข้ามาทดสอบจะต้องแสดงความรู้ในหลักหลักการรวมวงและสามารถบรรเลงเครื่องดนตรีที่ตนเองถนัดกับผู้อื่นได้ 

 (ข)    คำอธิบายรายละเอียด

    - หลักการรวมวง หมายถึง หลักวิธีการรวมวงที่มีรูปแบบเป็นมาตรฐาน และเป็นที่ยอมรับและนิยมใช้กัน

    - ตบแต่งทำนองหมายถึง ลักษณะการดำเนินทำนองที่เหมาะสมกับการบรรเลงเครื่องดนตรีชนิดนั้นๆ โดยยังรักษาโครงสร้างของทำนองเพลงไว้อย่างครบถ้วน เช่น ลูกตกในแต่ละประโยคของเพลง และกลุ่มเสียงที่ใช้ในการดำเนินทำนอง เป็นต้น

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
-

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
-

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 วิธีการประเมิน

        - สัมภาษณ์

            - สาธิต



18.2 เครื่องมือ

        - แบบสัมภาษณ์

        - แบบประเมินผล

 



ยินดีต้อนรับ