หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

จัดเก็บห้องและวัสดุอุปกรณ์หลังการให้บริการนวดไทย

สาขาวิชาชีพธุรกิจเสริมสวยและเสริมสร้างสุขภาพร่างกาย


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ HDS-UQLH-192B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ จัดเก็บห้องและวัสดุอุปกรณ์หลังการให้บริการนวดไทย

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)



อาชีพพนักงานสนับสนุนการนวดไทย



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีสมรรถนะทางเทคนิคในการประยุกต์หลักการ เลือกใช้และทำงานตามขั้นตอนที่กำหนด เข้าใจสาระสำคัญของงานด้วยหลักการที่ถูกต้อง สามารถจัดเก็บห้องและวัสดุอุปกรณ์สำหรับการบริการนวดไทยหลังการให้บริการ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
สาขาการนวดไทย

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
    พระราชบัญญัติสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ.2559

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
1010901

จัดเก็บห้องให้บริการนวดไทยหลังการให้บริการ

1. จัดเก็บห้องให้บริการนวดไทยหลังให้บริการได้อย่างถูกต้องครบถ้วนตามขั้นตอนที่กำหนด

1010901.01 152998
1010901

จัดเก็บห้องให้บริการนวดไทยหลังการให้บริการ

2. ตรวจสอบการจัดเก็บห้องหลังให้บริการได้อย่างถูกต้องครบถ้วนตามขั้นตอนที่กำหนด

1010901.02 152999
1010902

จัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ในการให้บริการนวดไทยหลังการให้บริการ

1. ตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์หลังการให้บริการได้อย่างถูกต้องครบถ้วนตามขั้นตอนที่กำหนด

1010902.01 153000
1010902

จัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ในการให้บริการนวดไทยหลังการให้บริการ

2. จัดเก็บวัสดุอุปกรณ์หลังการให้บริการได้ถูกต้องครบถ้วนตามขั้นตอนที่กำหนด

1010902.02 153001

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการให้บริการนวดไทย


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1.    ทักษะในการเตรียมความพร้อมของห้องให้บริการนวดไทย

2.    ทักษะในการเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการให้บริการนวดไทย

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้เกี่ยวกับการบริการนวดไทยตามหลักความปลอดภัยและสุขอนามัย

2. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับลักษณะห้องในการให้บริการนวดไทย    

3. ความรู้เบื้องต้นเเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ในการให้บริการนวดไทย

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก)    หลักฐานการปฏิบัติงาน ( Performance Evidence )

    1. เอกสารรับรองการปฏิบัติงาน เช่น หนังสือรับรองประสบการณ์การทำงานจากสถานประกอบการ แบบประเมินงานจากหัวหน้างาน แฟ้มสะสมงาน เช่น ภาพถ่าย สมุดบันทึกการปฏิบัติงานประจำวัน (Log Book)

    2. เอกสารประเมินผลจากการสังเกตการปฏิบัติงาน

(ข)    หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

    1. เอกสารรับรองผลการเรียนหรือผลการอบรม

    2. เอกสารประเมินผลจากข้อสอบข้อเขียน

(ค)    คำแนะนำในการประเมิน

พิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้

 (ง) วิธีการประเมิน    

ประเมินความรู้โดยใช้การสอบข้อเขียน 

ประเมินทักษะโดยใช้การสังเกตการปฏิบัติงาน 

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

จัดเก็บห้องและวัสดุอุปกรณ์สำหรับการบริการนวดไทยหลังการให้บริการ



(ก)    คำแนะนำ 

การจัดเก็บห้องและวัสดุอุปกรณ์หลังการให้บริการนวดไทยต้องเข้าใจสาระสำคัญของจัดเก็บห้องและวัสดุอุปกรณ์สำหรับการบริการนวดไทยหลังการให้บริการด้วยหลักการที่ถูกต้อง สามารถประยุกต์หลักการ เลือกใช้และทำงานตามขั้นตอนที่กำหนด และควรคำนึงถึงการจัดการด้านความปลอดภัยของห้องและวัสดุอุปกรณ์ตามหลักคู่มือสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการนวดไทย และตรวจสอบความเรียบร้อยหลังการให้บริการในแต่ละรอบ และในแต่ละวัน

(ข)    คำอธิบายรายละเอียด

วัสดุอุปกรณ์ในการให้บริการนวดไทย อาทิ เบาะนวดไทย ผ้าปูที่นอน ผ้ารองหมอน หมอนรองขา ผ้าห่มตัวลูกค้า อุปกรณ์ในการล้างเท้า อุปกรณ์ประคบ

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือประเมิน 

1) แบบทดสอบข้อเขียน

2) แบบบันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน

18.2 เครื่องมือประเมิน 

1) แบบทดสอบข้อเขียน

2) แบบบันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน    



    ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน

 



ยินดีต้อนรับ