หน่วยสมรรถนะ
ออกแบบการใช้พื้นที่เพื่อทำการเกษตรอย่างยั่งยืน
สาขาวิชาชีพเกษตรกรรม
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | ARC-HUUI-394A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ออกแบบการใช้พื้นที่เพื่อทำการเกษตรอย่างยั่งยืน |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2564 |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
รหัสอาชีพ ISCO-08 |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้สามารถวิเคราะห์นิเวศเกษตรของพื้นที่และออกแบบระบบเกษตรที่เหมาะสมกับพื้นที่ได้ พร้อมทั้งออกแบบผังแปลงเพื่อการใช้ประโยชน์พื้นที่อย่างยั่งยืน และประยุกติ์ใช้ระบบเกษตรได้ตามสภาพพื้นที่ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
กลุ่มอาชีพที่เกี่ยวข้องทางด้านเกษตรกรรม เช่น สาขาเกษตรปราดเปรื่อง สาขาเทคโนโลยีการเกษตรสาขาส่งเสริมการเกษตร สาขาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจ สาขาเกษตรกรรมตามแนวพระราชดำเริเศรษฐกิจพอเพียง สาขาเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
-N/A- |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
- พระราชบัญญัติ การผังเมือง พ.ศ. ๒๕๖๒- ระเบียบกรมปศุสัตว์ว่าด้วยการขอรับและออกใบรับรองฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม พ.ศ. ๒๕๖๐- พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ.2535กฎหมายเกี่ยวกับที่ดิน - พรบ. จัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ. 2511- พรบ. การปฎิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 - พรบ. การเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524- พรบ. พัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551- พรบ. จัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2558- พรบ. การขุดดินถมดิน พ.ศ. 2543 |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
311 วิเคราะห์นิเวศเกษตรของพื้นที่และระบบเกษตรที่เหมาะสมกับพื้นที่ |
1. วิเคราะห์นิเวศเกษตรของพื้นที่ทำเกษตร |
311.01 | 150980 |
311 วิเคราะห์นิเวศเกษตรของพื้นที่และระบบเกษตรที่เหมาะสมกับพื้นที่ |
2. วิเคราะห์ความเหมาะสมของระบบนิเวศกับระบบเกษตรที่ต้องการ |
311.02 | 150981 |
311 วิเคราะห์นิเวศเกษตรของพื้นที่และระบบเกษตรที่เหมาะสมกับพื้นที่ |
3. เลือกระบบเกษตรที่เหมาะสมกับพื้นที่และตามความต้องการของเจ้าของที่ดิน |
311.03 | 150982 |
312 ออกแบบผังแปลงตามการใช้ประโยชน์พื้นที่อย่างยั่งยืน |
1. รวบรวมข้อมูล (ความต้องการจากเจ้าของพื้นที่/ข้อมูลผลการวิเคราะห์พื้นที่) |
312.01 | 150983 |
312 ออกแบบผังแปลงตามการใช้ประโยชน์พื้นที่อย่างยั่งยืน |
2. ออกแบบผังแปลงตามความต้องการและสมดุลกับนิเวศของพื้นที่ |
312.02 | 150984 |
312 ออกแบบผังแปลงตามการใช้ประโยชน์พื้นที่อย่างยั่งยืน |
3. ประยุกติ์ใช้หลักการทำเกษตรได้ตามสภาพพื้นที่ |
312.03 | 150985 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
-N/A- |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ - ทักษะในการประยุกต์ใช้หลักการเกษตรกับการทำงาน (ข) ความต้องการด้านความรู้ - ความรู้เกี่ยวกับลักษณะพื้นที่ พืช สัตว์ ประมง เศรษฐกิจในพื้นที่ |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะใช้ในการพิจารณาประกอบร่วมกันกับการประเมินตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รวมทั้งทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ง) วิธีการประเมิน |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ขอบเขตของการประเมินสมรรถนะในหน่วยสมรรถนะนี้ ผู้เข้ารับการประเมินจะถูกสัมภาษณ์ตามรายละเอียดในหน่วยสมรรถนะ ระบบเกษตรที่เหมาะสมกับพื้นที่: การประยุกต์ใช้ระบบเกษตรตามสภาพพื้นที่เป็นการนำระบบที่ลูกค้า/เจ้าของที่ดินต้องการ เช่น การทำเกษตรแบบผสมผสาน การทำเกษตรอินทรีย์ เกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นต้น มาประยุกต์การทำงานให้เข้ากับสภาพพื้นที่ โดยมีขั้นตอนการทำงาน เช่น ตรวจสอบพันธ์พืช/สัตว์ ที่สามารถเพาะปลูกและเลี้ยงได้ในพื้นที่ ตามกิจกรรมที่ลูกค้าต้องการ ในแต่ละกิจกรรมอาจมีรายละเอียดปลีกย่อย เช่น ระบบการเกษตรแบบผสมผสานที่มีการใช้สารเคมี หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี หรือเกษตรธรรมชาติ มีสัตว์หรือพื้ช |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
-N/A- |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
-N/A- |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
- ข้อข้อสอบข้อเขียน ข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก (ทดสอบความรู้ตามเกณฑ์การปฎิบัติงาน) |