หน่วยสมรรถนะ
จัดการระบบของงานด้านรหัสทางการแพทย์
สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | HLT-SAHJ-388A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | จัดการระบบของงานด้านรหัสทางการแพทย์ |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2564 |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
(รหัส ISCO 3252) นักเวชสถิติ |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
มีความรู้และทักษะจัดการรหัสทางการแพทย์ ตรวจสอบและควบคุมคุณภาพการให้รหัสทางการแพทย์ รวมถึงให้คำแนะนำและบูรณาการความรู้ร่วมกับหน่วยงานภายในและภายนอก |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
นักเวชสถิติ |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
10404.01 จัดการรหัสทางการแพทย์ |
1. ให้รหัสโรค หัตถการและผ่าตัด |
10404.01.01 | 149745 |
10404.01 จัดการรหัสทางการแพทย์ |
2. ให้รหัสสาเหตุการตาย |
10404.01.02 | 149746 |
10404.01 จัดการรหัสทางการแพทย์ |
3. ให้รหัสเนื้องอก มะเร็ง และสัณฐานวิทยา |
10404.01.03 | 149747 |
10404.02 | 1. ประเมินคุณภาพการให้รหัสทางการแพทย์ |
10404.02.01 | 149748 |
10404.02 | 2. ติดตามระบบการประเมินคุณภาพการให้รหัสทางการแพทย์ให้มีประสิทธิภาพ |
10404.02.02 | 149749 |
10404.02 | 3. ให้คำแนะนำจากผลการประเมินไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการให้รหัสทางการแพทย์ |
10404.02.03 | 149750 |
10404.03 ปฎิบัติตามหลักจริยธรรมด้านการให้รหัสทางการแพทย์ |
1. ให้รหัสทางการแพทย์ตามมาตรฐานการให้ตามคู่มือแนวทางมาตรฐานการให้รหัสโรค |
10404.03.01 | 149751 |
10404.03 ปฎิบัติตามหลักจริยธรรมด้านการให้รหัสทางการแพทย์ |
2. เก็บรักษาความลับข้อมูลของผู้ป่วยที่ปรากฏในเวชระเบียน |
10404.03.02 | 149752 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
ไม่มี |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
(ข) ความต้องการด้านความรู้
|
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และความรู้ที่ต้องการ (Required Skill and Knowledge) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
(ค) คำแนะนำในการประเมิน ผู้เข้ารับการประเมินต้องผ่านการประเมินที่ครอบคลุมในทุกสมรรถนะย่อยขอบเขตความรู้และทักษะที่กำหนดในกรณีที่ผู้รับการประเมินผ่านไม่ครบตามเกณฑ์กำหนด ผู้ประเมินต้องแจ้งหน่วยสมรรถนะและสมรรถนะย่อยที่ไม่ผ่านให้ผู้รับการประเมินไปทบทวนสมรรถนะที่ยังไม่ผ่านและสามารถกลับมาทดสอบสมรรถนะใหม่อีกครั้ง (ง) วิธีการประเมิน
การรับรองสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพที่ขึ้นทะเบียนเท่านั้น
|
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ขอบเขตหมายถึงการปฏิบัติงานและสภาพแวดล้อมอื่นๆ หรือสถานการณ์อื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงานรวมถึงเครื่องมืออุปกรณ์เทคโนโลยีทรัพยากรที่ใช้หรือข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (ก) คำแนะนำ
ทั่วถึง สามารถดูแลฐานข้อมูลเวชสถิติได้อย่างปลอดภัย และมีทักษะในการใช้รหัสโรคผู้ป่วย รหัสหัตถการ สาเหตุการตายได้อย่างถูกต้อง ซึ่งผู้เข้ารับการประเมินควรเตรียมหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะนี้ ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานความรู้มาเพื่อประกอบการพิจารณาด้วย
ในหน่วยสมรรถนะนี้ (ข) คำอธิบายรายละเอียด
(International Statistical of Disease and Related Health Problems 10th) ที่ใช้แทนชื่อโรคหรือภาวะการเจ็บป่วย เช่น Hypertension ใน ICD-10 จะใช้แทนด้วยรหัส I10
ผ่าตัดและหัตถการ (International Classification of Diseases Ninth Revision Clinical Modification) เช่น การผ่าตัดไส้ติ่ง (Appendectomy) จะใช้แทนด้วยรหัส 47.09
เหตุการณ์หลายอย่าง เช่น อุบัติเหตุ การถูกทําร้าย เป็นต้น ประกอบกันจนทําให้ตาย
นอก โดยต้องเป็น โรคที่เกิดขึ้นในตัวผู้ป่วยตั้งแต่ก่อนรับเข้าไว้รักษาในโรงพยาบาลในกรณีที่ผู้ป่วยมีโรคหลายโรคปรากฏ ขึ้นพร้อมๆ กันให้เลือกโรคที่รุนแรงที่สุดหรือโรคที่ใช้ทรัพยากรในการรักษาสูงสุดเป็นการวินิจฉัยหลัก
รุนแรงของโรคมากพอที่จะทําใหผู้ป่วยมีความเสี่ยงชีวิตสูงมากขึ้น หรือใชทรัพยากรในการรักษา เพิ่มขึ้นระหวางการรักษาตัวในโรงพยาบาลครั้งนี้
รับการรักษาในโรงพยาบาลไปแล้ว และเป็นโรคที่มีความรุนแรงของโรคมากพอที่จะทำให้ผู้ป่วยมี ความเสี่ยงต่อชีวิตสูงมากขึ้นหรือใช้ทรัพยากรในการรักษาตัวในโรงพยาบาลครั้งนี้
วินิจฉัยร่วมหรือโรคแทรก กล่าวคือเป็นโรคที่ความรุนแรงของโรคไม่มากพอที่จะทำให้ผู้ป่วยมีความ เสี่ยงต่อชีวิตสูงมากขึ้น หรือเป็นโรคที่ไม่ต้องใช้ทรัพยากรในการรักษาเพิ่มขึ้นระหว่างการรักษาตัวใน โรงพยาบาลครั้งนี้ อาจเป็นโรคที่พบร่วมกับโรคที่เป็นการวินิจฉัยหลัก หรือพบหลังจากเข้ารักษาตัวใน โรงพยาบาลแล้วก็ได้
ผู้ป่วย เพื่อให้ทราบว่าบาดเจ็บมาอย่างไรเป็นอุบัติเหตุถูกทำร้าย ฆ่าตัวตายฯลฯ เพื่อให้ได้ข้อมูลมาใช้ ป้องกันการบาดเจ็บที่อาจเป็นสาเหตุให้สูญเสียประชาชนก่อนวัยอันสมควร
วิชาชีพ แพทย์หรือทันตแพทย์ มีวัตถุประสงค์หลักในการบำบัดรักษาโรคหรือแก้ไขความพิการ บกพร่องในโครงสร้างทางกายภาพของผู้ป่วย และโดยทั่วไปดำเนินการในห้องผ่าตัดของโรงพยาบาล
ข้อมูลถูกต้องและมีคุณภาพสามารถแลกเปลี่ยนและเชื่อมโยงข้อมูลกันได้ทั้งประเทศ
ประเทศ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
|