หน่วยสมรรถนะ
พาช้างนำเที่ยว
สาขาวิชาชีพการท่องเที่ยว การโรงแรม ภัตตาคารและร้านอาหาร
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | THR-DWUC-820A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | พาช้างนำเที่ยว |
3. ทบทวนครั้งที่ | / |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
9332 ควาญช้าง |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
หน่วยสมรรถนะนี้ประกอบไปด้วยความรู้และทักษะที่จำเป็นในการพาช้างนำเที่ยว โดยสามารถพานักท่องเที่ยวอาบน้ำช้าง ขี่ช้างแบบมีแหย่งและแบบไม่มีแหย่ง และป้อนอาหารช้างได้ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
คนเลี้ยงช้าง ควาญช้าง |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
1. พรบ ป้องกันการทารุณกรรมและจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 25572. พรบ วิชาชีพการสัตวแพทย์ พ.ศ. 25453. พรบ. สัตว์พาหนะ พ.ศ. 24824. พรบ. ควบคุมโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 25585. ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง การจัดสวัสดิภาพช้างในปางช้าง พ.ศ. 25636. ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง มาตรฐานปาง (แคมป์) ช้างของประเทศไทย พ.ศ. 25457. มาตรฐานการจัดกิจกรรมปางช้างเพื่อการท่องเที่ยว8. การปฏิบัติที่ดีสำหรับปางช้าง สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
50105.01 พานักท่องเที่ยวอาบน้ำช้าง |
1. เลือกบริเวณที่ลงอาบน้ำได้อย่างปลอดภัย |
50105.01.01 | 149530 |
50105.01 พานักท่องเที่ยวอาบน้ำช้าง |
2. อธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้อาบน้ำช้าง |
50105.01.02 | 149531 |
50105.01 พานักท่องเที่ยวอาบน้ำช้าง |
3. อธิบายความสำคัญของการอาบน้ำช้าง |
50105.01.03 | 149532 |
50105.01 พานักท่องเที่ยวอาบน้ำช้าง |
4. ตระหนักถึงการรักษาระยะห่างกับช้างเชือกอื่น |
50105.01.04 | 149533 |
50105.01 พานักท่องเที่ยวอาบน้ำช้าง |
5. แนะนำข้อห้ามที่นักท่องเที่ยวไม่สามารถทำกิจกรรมได้ |
50105.01.05 | 149534 |
50105.02 พานักท่องเที่ยวขี่ช้างแบบมีแหย่ง |
1. ตรวจสอบอุปกรณ์แหย่งก่อนพานักท่องเที่ยวขึ้นนั่ง |
50105.02.01 | 149535 |
50105.02 พานักท่องเที่ยวขี่ช้างแบบมีแหย่ง |
2. แนะนำให้นักท่องเที่ยวใช้อุปกรณ์อย่างปลอดภัย |
50105.02.02 | 149536 |
50105.02 พานักท่องเที่ยวขี่ช้างแบบมีแหย่ง |
3. ส่งสัญญาณบอกกรณีเส้นทางขรุขระ ที่อาจเป็นอันตราย |
50105.02.03 | 149537 |
50105.03 พานักท่องเที่ยวขี่ช้างแบบไม่มีแหย่ง |
1. อธิบายการนั่งที่ถูกต้องและตำแหน่งที่เหมาะสมบนหลังช้าง |
50105.03.01 | 149538 |
50105.03 พานักท่องเที่ยวขี่ช้างแบบไม่มีแหย่ง |
2. อธิบายการขึ้นลงช้างอย่างปลอดภัย |
50105.03.02 | 149539 |
50105.03 พานักท่องเที่ยวขี่ช้างแบบไม่มีแหย่ง |
3. แนะนำความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยว |
50105.03.03 | 149540 |
50105.03 พานักท่องเที่ยวขี่ช้างแบบไม่มีแหย่ง |
4. อธิบายเส้นทางเดิน และข้อควรระวังกรณีมีการขึ้นเขาหรือลงเนินที่ค่อนข้างชัน |
50105.03.04 | 149541 |
50105.04 พานักท่องเที่ยวป้อนอาหารช้าง |
1. เลือกบริเวณป้อนอาหารช้างที่เหมาะสมและปลอดภัย |
50105.04.01 | 149542 |
50105.04 พานักท่องเที่ยวป้อนอาหารช้าง |
2. เว้นระยะห่างระหว่างช้างเพื่อไม่ให้เกิดการแย่งอาหาร |
50105.04.02 | 149543 |
50105.04 พานักท่องเที่ยวป้อนอาหารช้าง |
3. อธิบายการเลือกอาหารที่เหมาะสมกับช้าง |
50105.04.03 | 149544 |
50105.04 พานักท่องเที่ยวป้อนอาหารช้าง |
4. แนะนำวิธีการให้อาหารช้างที่ถูกต้อง |
50105.04.04 | 149545 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ - ทักษะในการพาช้างทำกิจกรรมร่วมกับนักท่องเที่ยว (ข) ความต้องการด้านความรู้ - ความรู้เกี่ยวกับวิธีการพาช้างทำกิจกรรมร่วมกับนักท่องเที่ยว |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ขอบเขตการปฏิบัติงานในการพาช้างนำเที่ยว เริ่มตั้งแต่ พานักท่องเที่ยวอาบน้ำช้าง โดยเลือกบริเวณที่ลงอาบน้ำได้อย่างปลอดภัย เช่น จุดที่พื้นไม่ลื่น น้ำไม่ลึก ไม่เชี่ยวกราก ไม่มีเศษแก้วหรือโลหะหรือสิ่งมีคมที่อาจเป็นอันตรายได้ อธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้อาบน้ำช้าง ความสำคัญของการอาบน้ำช้าง โดยรักษาระยะห่างกับช้างเชือกอื่น และพานักท่องเที่ยวขี่ช้างทั้งแบบมีแหย่งและแบบไม่มีแหย่ง โดยอธิบายการนั่งที่ถูกต้องและตำแหน่งที่เหมาะสมบนหลังช้าง การขึ้นลงช้างอย่างปลอดภัย การแนะนำความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยว เช่น การจับเชือกคาดอกช้าง หรือการแนะนำให้กกหู หรือการนั่งช้างเป็นเพื่อน ตรวจสอบอุปกรณ์แหย่งโดยแนะนำให้นักท่องเที่ยวใช้อุปกรณ์อย่างปลอดภัย เช่น การรัดเข็มขัด หรือการใช้ที่กั้นพาดแหย่ง อธิบายเส้นทางเดิน และข้อควรระวังกรณีมีการขึ้นเขาหรือลงเนินที่ค่อนข้างชัน รวมทั้ง พานักท่องเที่ยวป้อนอาหารช้าง โดยเลือกบริเวณป้อนอาหารช้างที่เหมาะสม ปลอดภัย เช่น พื้นไม่ลื่น มีพื้นที่ให้คนเว้นระยะจากช้าง หรือมีหลักเสากั้น มีการเว้นระยะห่างระหว่างช้างเพื่อไม่ให้เกิดการแย่งอาหาร อธิบายการเลือกอาหารที่เหมาะสมกับช้าง เช่น อาหารอ่อนนิ่มให้กับช้างอายุมาก หรือเลือกปริมาณให้เหมาะสมกับช้าง เช่น การกินกล้วยสุกมากเกินไปอาจก่อให้เกิดอาการท้องเสียถ่ายเหลวได้ และแนะนำวิธีการให้อาหารช้างที่ถูกต้อง |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 สอบสัมภาษณ์ |