หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

รายงานภาพรวมของการป้องกันและควบคุมอันตรายและความเสี่ยง

สาขาวิชาชีพอาชีวอนามัยและความปลอดภัย


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ WPS-DQGT-014B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ รายงานภาพรวมของการป้องกันและควบคุมอันตรายและความเสี่ยง

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2562

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพนักความปลอดภัยในการทำงาน 



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะต้องมีความรู้เรื่องมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยงขององค์กร โดยสามารถจัดทำรายงานภาพรวมมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยงขององค์กร รวมไปถึงการนำเสนอรายงานภาพรวมเพื่อป้องกัน ควบคุมอันตรายและความเสี่ยงที่จะเกิดในองค์กร 

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้ปฏิบัติงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
1.    พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 25542.    พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 3.    กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2549 4.    ISO 45001:2018 ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
A307.1 รวบรวมมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยง ขององค์กร

1. ระบุแหล่งที่มาของมาตรการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงได้

A307.1.01 147658
A307.1 รวบรวมมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยง ขององค์กร

2. จัดประชุมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อรวบรวมเอกสารมาตรการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงได้

A307.1.02 147659
A307.1 รวบรวมมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยง ขององค์กร

3. รวบรวมเอกสารมาตรการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงจากรายงานอุบัติการณ์ที่เคยเกิดขึ้นได้

A307.1.03 147660
A307.1 รวบรวมมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยง ขององค์กร

4. รวบรวมเอกสารมาตรการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงจากแผนการจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากผลการชี้บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ยงได้

A307.1.04 147661
A307.1 รวบรวมมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยง ขององค์กร

5. รวบรวมเอกสารมาตรการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงจากการแก้ไขสภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัยและการกระทำที่ไม่ปลอดภัยได้

A307.1.05 147662
A307.1 รวบรวมมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยง ขององค์กร

6. รวบรวมเอกสารมาตรการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงจากอุบัติเหตุ จากการสำรวจ จากบทเรียน และอื่นๆ 

A307.1.06 147663
A307.1 รวบรวมมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยง ขององค์กร

7. รวบรวมเอกสารมาตรการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงจากผลประเมินความสอดคล้อง การไม่ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานด้านความปลอดภัย

A307.1.07 147664
A307.2 จัดทำรายงานภาพรวมมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยง ขององค์กร

1. กำหนดรูปแบบและหัวข้อรายงานภาพรวมมาตรการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงที่เป็นมาตรฐานได้

A307.2.01 147665
A307.2 จัดทำรายงานภาพรวมมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยง ขององค์กร

2. จำแนกประเภทหัวข้อมาตรการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงตามลำดับ 21.1.3 - 21.1.7 ได้

A307.2.02 147666
A307.2 จัดทำรายงานภาพรวมมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยง ขององค์กร

3. วิเคราะห์ประสิทธิผลประเภทหัวข้อมาตรการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงตามลำดับ 21.1.3 - 21.1.7 ที่เป็น Hardware และ Software ได้

A307.2.03 147667
A307.2 จัดทำรายงานภาพรวมมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยง ขององค์กร

4. คาดการณ์แนวโน้มประเภทหัวข้อมาตรการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงตามลำดับ 21.1.3 - 21.1.7 ได้

A307.2.04 147668
A307.2 จัดทำรายงานภาพรวมมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยง ขององค์กร

5. เสนอแนะมาตรการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงตามลำดับ 21.1.3 - 21.1.7 ที่ยังไม่สามารถจัดการได้อย่างมีประสิทธิผล

A307.2.05 147669
A307.2 จัดทำรายงานภาพรวมมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยง ขององค์กร

6. จัดทำรายงานภาพรวมตามข้อมูลที่รวบรวมได้ ลงในรายงานภาพรวมมาตรการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงและเสนอต่อผู้ที่เกี่ยวข้องได้

A307.2.06 147670
A307.3 นำเสนอรายงานภาพรวมของการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงขององค์กร

1. อธิบายรายงานภาพรวมการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงขององค์กร

A307.3.01 147671
A307.3 นำเสนอรายงานภาพรวมของการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงขององค์กร

2. อธิบายข้อมูลการเกิดอุบัติการณ์ และแนวโน้มการเกิดอุบัติการณ์ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบได้

A307.3.02 147672
A307.3 นำเสนอรายงานภาพรวมของการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงขององค์กร

3. นำเสนอภาพรวมมาตรป้องกันและควบคุมอันตรายขององค์กร รวมถึงประสิทธิผลของมาตรป้องกันและควบคุมอันตรายได้

A307.3.03 147673
A307.3 นำเสนอรายงานภาพรวมของการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงขององค์กร

4. เสนอแนะเพื่อให้มีการปรับปรุงมาตรการมาตรป้องกันและควบคุมอันตรายขององค์กรได้

A307.3.04 147674

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีความรู้ด้านกฎหมาย ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสุขศาสตร์อุตสาหกรรม สิ่งแวดล้อม พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2549 และISO 45001:2018 ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1.    ทักษะในการตีความ ทำความเข้าใน แผน ข้อกำหนด แบบแปลน และแผนผังการผลิต (Interpreting plans, specifications, technical drawings, and process flow diagrams

2.    ทักษะในการสื่อสารกับผู้ชำนาญการเฉพาะสาขา (Communicating with subject matter experts)

3.    ทักษะในการใช้โปรแกรมการจัดการข้อมูล (Using data management software)

4.    ทักษะในการสร้างแบบฟอร์มสำหรับเก็บข้อมูล (Creating data collection forms) 

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1.    วิธีการการเกิดเหตุการณ์ (Root cause analysis methods)

2.    ความรู้ด้านคณิตศาสตร์และสถิติ (Mathematics and statistics)

3.    โปรแกรมที่ใช้สำหรับการจัดการข้อมูล (Data management software)

4.    ความรู้พื้นฐานวิทยาศาสตร์ กายวิภาค ชีววิทยา เคมี ฟิสิกส์ สรีรวิทยา (Basic sciences: anatomy, biology, chemistry, physics, physiology)

5.    ข้อมูลข่าวสารด้านความมั่นคงปลอดภัยและข้อกำหนดที่เป็นความลับ (Information security and confidentiality requirements

6.    แหล่งข้อมูลความเสี่ยง เช่น ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขา วิธีการปฏิบัติที่ดี หรือเอกสารวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์(Sources of information on risk (e.g., subject matter experts, relevant best practices, published literature)

7.    ความรู้มาตรฐานระบบบริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมและระบบการตรวจประเมินเช่น ISO14001 และ OHSAS 18001 และ OSHA-VPP (Safety, health, and environmental management and audit systems (e.g., ANSI/AIHA Z10, ISO 14000 series, OHSAS 18000 series, ISO 19011, U.S. Occupational Safety and Health Administration Voluntary Protection Programs)

8.    ความรู้ด้านกลยุทธ์ในการนำเสนอรายงาน (Report presentation strategies)

9.    แหล่งข้อมูลจาก Internet


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

1. ใบรับรองการเข้ารับการฝึกอบรม

2. ใบประกาศนียบัตรวุฒิการศึกษา

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

1. ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการกำหนดวัตถุประสงค์ทางธุรกิจโดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานความรู้

(ง) วิธีการประเมิน

1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน

2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ 

ผู้เข้ารับการประเมินสามารถแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการจัดทำรายงานภาพรวมของการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยงขององค์กร โดยต้องอาศัยการรวบรวมข้อมูลผลการปฏิบัติงาน นโยบายหรือมาตรการด้านความปลอดภัย การบริหารจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยสามารถทำรายงานการตรวจประเมินตามมาตรฐานระบบบริหารจัดการความปลอดภัยและ และสามารถทำรายงานการตรวจประเมินตามมาตรฐานระบบบริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย  เพื่อที่จะรายงานผลการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ต่อผู้บริหารและมีมีส่วนเกี่ยวข้องได้



คำอธิบายรายละเอียด

การจัดทำรายงานภาพรวมของการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยงขององค์กร ใช้การประยุกต์งานด้านต่างๆ เพื่อจัดทำข้อสรุปผลการดำเนินการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ได้แก่

1.    การรวบรวมข้อมูลทางสถิติ

2.    การวิเคราะห์มาตรการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

3.    การประเมินผลการปฏิบัติงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

4.    การนำเสนอข้อมูลกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่มีการระบุไว้ในแผนการปฏิบัติงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

5.    การจัดทำข้อเสนอแนะต่อผู้บริการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการปรับปรุงและแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดจากการบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1    เครื่องมือประเมินการรวบรวมมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยง ขององค์กร

    1 ผลข้อสอบข้อเขียน

    2. ผลข้อสอบสัมภาษณ์

18.2 เครื่องมือประเมินการจัดทำรายงานภาพรวมมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย ความเสี่ยง ขององค์กร

    1 ผลข้อสอบข้อเขียน

    2. ผลข้อสอบสัมภาษณ์

18.3 เครื่องมือประเมินการนำเสนอรายงานภาพรวมของการป้องกันและควบคุมอันตรายความเสี่ยงขององค์กร

    1 ผลข้อสอบข้อเขียน

    2. ผลข้อสอบสัมภาษณ์



ยินดีต้อนรับ