หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์อบยางเบื้องต้น

สาขาวิชาชีพผลิตภัณฑ์ยางพารา


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ RUB-BCCV-029A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์อบยางเบื้องต้น

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2562

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ผู้ปฏิบัติงานการอบยาง ระดับ 2



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านการประเมินหน่วยสมรรถนะ (UOC) นี้จะต้องสามารถเตรียมการอบยาง ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์เบื้องต้น บันทึก รายงาน แก้ปัญหาจากเหตุไฟฟ้าดับฉุกเฉินได้ และต้องสามารถสอบผ่านเกณฑ์ที่กําหนด

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
สาขาผลิตภัณฑ์ยางพารา สาขาอุตสาหกรรมยางล้อ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
1.1.4.2.2 ตัด ตกแต่ง ส่วนเกินภายใน ภายนอก

2.1 เตรียมเกณฑ์ ข้อกําหนดสภาพยางที่เป็นเกณฑ์การยอมรับ, ข้อกําหนดวิธีการตัดแต่งส่วนเกิน

1.1.4.2.2.01 147179
1.1.4.2.2 ตัด ตกแต่ง ส่วนเกินภายใน ภายนอก

2.2 ตรวจสอบเครื่องมือ อุปกรณ์การ ตัดแต่ง

1.1.4.2.2.02 147180
1.1.4.2.2 ตัด ตกแต่ง ส่วนเกินภายใน ภายนอก

2.3 ตัดแต่งส่วนเกินภายใน-ภายนอกตามเกณฑ์ข้อกําหนด

1.1.4.2.2.03 147181
1.1.4.2.2 ตัด ตกแต่ง ส่วนเกินภายใน ภายนอก

2.4 รายงานผลการตัดแต่ง

1.1.4.2.2.04 147182
1.1.4.2.2 ตัด ตกแต่ง ส่วนเกินภายใน ภายนอก

2.5 คัดแยกชิ้นงานเสียตามคู่มือการปฏิบัติงาน

1.1.4.2.2.05 147183
1.1.4.2.3 ตรวจสอบสภาพผิว ตําหนิ ส่วนเกิน ภายในภายนอก (Appearance Check)

3.1 ตรวจสอบสภาพผิว ตําหนิ ส่วนเกินภายใน-ภายนอก ตามคู่มือการปฏิบัติงานและบันทึกผลการตรวจสอบ

1.1.4.2.3.01 147184
1.1.4.2.3 ตรวจสอบสภาพผิว ตําหนิ ส่วนเกิน ภายในภายนอก (Appearance Check)

3.2 คัดแยกชิ้นงาน เสีย งานดีตามคู่มือการปฏิบัติงาน

1.1.4.2.3.02 147185
1.1.4.2.4 ตรวจสอบสัญญาณความผิดปกติ (Alarm) ของเครื่องจักร

4.1 เตรียมเอกสารการตรวจสอบเครื่องอบ

1.1.4.2.4.01 147186
1.1.4.2.4 ตรวจสอบสัญญาณความผิดปกติ (Alarm) ของเครื่องจักร

4.2 ตรวจสอบการทํางานของสัญญาณเครื่องเครื่องจักร ตามเอกสารที่กําหนด

1.1.4.2.4.02 147187
1.1.4.2.4 ตรวจสอบสัญญาณความผิดปกติ (Alarm) ของเครื่องจักร

4.3 บันทึกผลการตรวจสอบ

1.1.4.2.4.03 147188
1.1.4.2.4 ตรวจสอบสัญญาณความผิดปกติ (Alarm) ของเครื่องจักร

4.4 ตรวจสอบสัญญาณผิดปกติของเครื่องจักร

1.1.4.2.4.04 147189
1.1.4.2.4 ตรวจสอบสัญญาณความผิดปกติ (Alarm) ของเครื่องจักร

4.5 ปรับแก้ไขสัญญาณความผิดปกติของเครื่องจักรตามคู่มือการปฏิบัติงาน

1.1.4.2.4.05 147190
1.1.4.2.5 รายงานปัญหาเมื่อเกิดสิ่งผิดปกติ (หยุด เรียก รอ)

5.1 เตรียมเอกสารตรวจสอบเครื่องจักร และเอกสารการรายงาน

1.1.4.2.5.01 147191
1.1.4.2.5 รายงานปัญหาเมื่อเกิดสิ่งผิดปกติ (หยุด เรียก รอ)

5.2 รอในจุดที่เกิดปัญหาเครื่องจักรผิดปกติ

1.1.4.2.5.02 147192
1.1.4.2.5 รายงานปัญหาเมื่อเกิดสิ่งผิดปกติ (หยุด เรียก รอ)

5.3 รายงานสาเหตุเกิดปัญหาที่ผิดปกติให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ

1.1.4.2.5.03 147193
1.1.4.2.5 รายงานปัญหาเมื่อเกิดสิ่งผิดปกติ (หยุด เรียก รอ)

5.4 หยุดเครื่องจักร หยุดการผลิต เมื่อพบสิ่งผิดปกติในการทํางาน

1.1.4.2.5.04 147194
1.1.4.2.5 รายงานปัญหาเมื่อเกิดสิ่งผิดปกติ (หยุด เรียก รอ)

5.5 เรียกผู้ที่เกี่ยวข้องเข้ามาตรวจสอบ ทําการแก้ไข

1.1.4.2.5.05 147195
1.1.4.2.5 รายงานปัญหาเมื่อเกิดสิ่งผิดปกติ (หยุด เรียก รอ)

5.6 เตรียมความพร้อมสําหรับการผลิต

1.1.4.2.5.06 147196
1.1.4.2.5 รายงานปัญหาเมื่อเกิดสิ่งผิดปกติ (หยุด เรียก รอ)

5.7 บันทึกปัญหาในรายงานการผลิตประจําวัน

1.1.4.2.5.07 147197
1.1.4.2.6 บันทึกรายงานการอบยาง

6.1 ตรวจสอบและบันทึกได้ถูกต้องชัดเจน 

     - จํานวนผลผลิตตามแผน

     - ชิ้นงานเสียที่เกิดขึ้น

     - ปัญหาในการผลิต

1.1.4.2.6.01 147198
1.1.4.2.6 บันทึกรายงานการอบยาง

6.2 แจ้งรายงานผลการอบยาง (บันทึก) ไปยังส่วนที่เกี่ยวข้อง

1.1.4.2.6.02 147199
1.1.4.2.7 แก้ปัญหาในกรณีแก้เหตุฉุกเฉินไฟฟ้าดับหรือไฟตก

7.1 ปฏิบัติตามแผนฉุกเฉิน เมื่อ ไฟดับ หรือไฟตก

1.1.4.2.7.01 147200
1.1.4.2.7 แก้ปัญหาในกรณีแก้เหตุฉุกเฉินไฟฟ้าดับหรือไฟตก

7.2 แจ้ง / รายงานผลการปฏิบัติแผนฉุกเฉิน

1.1.4.2.7.02 147201

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

2. ทักษะการใช้เครื่องมือตัดแตงยาง

3. ทักษะการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือตรวจสอบสภาพผิว ตําหนิ ส่วนเกินภายใน-ภายนอก

4. ทักษะการติดต่อประสานงาน

5. ทักษะการรายงานผลการปฏิบัติงานอย่างเหมาะสม เช่น บันทึกผล และพิมพ์งานได้บ้าง (ถ้ามี) เป็นต้น

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้เกี่ยวกับศัพท์เทคนิคเบื้องต้นทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

2. ความรู้เกณฑ์ ข้อกําหนดสภาพยางที่เป็นเกณฑ์การยอมรับ

3. ความรู้เกี่ยวกับ สัญลักษณ์ สัญญาณ Alarm ของเครื่องจักร

4. ความรู้เกี่ยวกับการแก้ไข Alarm

5. ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกชิ้นงานดี ชิ้นงานเสีย

6. ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบตําหนิชิ้นงาน

7. ความรู้เกี่ยวกับการบันทึกรายงานการตรวจ

8. ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการตัดแต่งยางภายใน-ภายนอก

9. ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างการทํางานของเครื่องจักร

10. ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างการทํางานของเครื่องจักร รวมถึงวิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์

11. ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบเครื่องจักร


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

     1. ใบรับรองการทํางานที่เกี่ยวข้อง

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

     1. เอกสารรับรองการอบรม 5 ส

     2. ใบรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานที่เกี่ยวข้อง

     3. ใบรับรองการอบรมในวิชาที่เกี่ยวข้อง

     4. เอกสารรับรองการอบรมความปลอดภัยและอาชีวะอนามัยเบื้องต้น

(ค) คําแนะนําในการประเมิน

     ผู้ประเมินตรวจประเมินจะต้องประเมินในทุกหัวข้อ สมรรถนะย่อย โดยสามารถประเมินรวมกันเพียงครั้งเดียวแต่ต้องสามารถชี้ชัด วัดผลได้ว่าได้มีการประเมินในหัวข้อสมรรถนะย่อยนั้นๆ และผ่านเกณฑ์ที่กําหนด

(ง) วิธีการประเมิน

     1. ประเมินจากผลการสัมภาษณ์เชิงเทคนิค

     2. ประเมินจากสังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบงานจริง

     3. ประเมินจากผลการสอบทฤษฎี


15. ขอบเขต (Range Statement)

     กระบวนการผลิตยางฉาบผ้าใบจนเสร็จสิ้นได้ผลผลิตที่ถูกจัดเก็บในคลังหรือสถานที่ที่พร้อมนําออกมาใช้งาน

(ก) คําแนะนํา

     1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสําคัญเกี่ยวกับข้อกําหนด และมาตรฐานการผลิต

     2. ผู้เข้ารับการประเมินควรมีพื้นฐานทางช่างทั่วไป

(ข) ผู้เข้ารับการประเมินสามารถแสดงถึงคุณสมบัติที่ต้องการในอาชีพ ได้แก่ คุณลักษณะที่มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และมีจิตสํานึกด้านความปลอดภัยในการทํางาน

(ค) คําอธิบายรายละเอียด

     ให้ความสําคัญกับข้อกําหนด และมาตรฐานการผลิต


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1. สอบทฤษฎี

     - แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก

2. สัมภาษณ์เชิงเทคนิค

     - แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์

3. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการจริง

     - แบบฟอร์มประเมินการปฏิบัติ



ยินดีต้อนรับ