หน่วยสมรรถนะ
ควบคุมเครื่องฉาบยาง (calendar) เสริมใยเหล็ก
สาขาวิชาชีพผลิตภัณฑ์ยางพารา
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | RUB-JZTH-049A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ควบคุมเครื่องฉาบยาง (calendar) เสริมใยเหล็ก |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2562 |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
ผู้ปฏิบัติงานผลิตชิ้นส่วนประกอบยาง (ยางฉาบเส้นใยเหล็ก) ระดับ 2 |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านการประเมินหน่วยสมรรถนะ (UOC) นี้จะต้องสามารถ เตรียมการผลิต ตรวจสอบ เครื่องจักรผลิตภัณฑ์ ปรับแต่ง บันทึกรายงานปัญหา แก้ปัญหาไฟฟ้าดับฉุกเฉิน ได้และต้องสามารถสอบผ่านเกณฑ์ที่กําหนด |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
สาขาผลิตภัณฑ์ยางพารา สาขาอุตสาหกรรมยางล้อ |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
1.1.2.3.1 เตรียมการผลิตยางฉาบเส้นใยเหล็ก | 1.1 เบิกวัตถุดิบ (ยางคอมพาวด์และเส้นใยเหล็ก) ได้ถูกต้องตรงตามแผนการผลิตประจําวัน |
1.1.2.3.1.01 | 146084 |
1.1.2.3.1 เตรียมการผลิตยางฉาบเส้นใยเหล็ก | 1.2 เตรียมมาตรฐานการผลิต คู่มือการใช้งานเครื่องจักรได้ถูกต้องตรงตามแผนการผลิต |
1.1.2.3.1.02 | 146085 |
1.1.2.3.1 เตรียมการผลิตยางฉาบเส้นใยเหล็ก | 1.3 จัดเตรียมพื้นที่การทํางาน (Housekeeping) ตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
1.1.2.3.1.03 | 146086 |
1.1.2.3.10 ตรวจสอบอุณหภูมิน้ําหล่อเย็น (Cooling drum) ระบายความร้อนยาง | 10.1 ตรวจสอบอุณหภูมิของน้ําหล่อเย็นให้ได้ตามคู่มือการปฏิบัติงานทุกครั้งก่อนทําการผลิต |
1.1.2.3.10.01 | 146112 |
1.1.2.3.10 ตรวจสอบอุณหภูมิน้ําหล่อเย็น (Cooling drum) ระบายความร้อนยาง | 10.2 บันทึกผลการตรวจสอบใน Check sheet |
1.1.2.3.10.02 | 146113 |
1.1.2.3.11 ตรวจสอบสัญญาณความผิดปกติ (Alarm) ของเครื่องจักร | 11.1 ตรวจสอบสัญญาณผิดปกติของเครื่องจักร |
1.1.2.3.11.01 | 146114 |
1.1.2.3.11 ตรวจสอบสัญญาณความผิดปกติ (Alarm) ของเครื่องจักร | 11.2 ปรับแก้ไขสัญญาณความผิดปกติของเครื่องจักรตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
1.1.2.3.11.02 | 146115 |
1.1.2.3.12 ปรับแต่งเครื่องจักรในกรณีที่พบความผิดปกติจากการผลิต | 12.1 ตรวจสอบชิ้นงานสม่ําเสมอ เพื่อให้ได้ตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
1.1.2.3.12.01 | 146116 |
1.1.2.3.12 ปรับแต่งเครื่องจักรในกรณีที่พบความผิดปกติจากการผลิต | 12.2 ปรับตั้งเครื่องจักรตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
1.1.2.3.12.02 | 146117 |
1.1.2.3.12 ปรับแต่งเครื่องจักรในกรณีที่พบความผิดปกติจากการผลิต | 12.3 ตรวจสอบหาความผิดปกติของเครื่องจักร |
1.1.2.3.12.03 | 146118 |
1.1.2.3.12 ปรับแต่งเครื่องจักรในกรณีที่พบความผิดปกติจากการผลิต | 12.4 ปรับแก้ไขความผิดปกติตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
1.1.2.3.12.04 | 146119 |
1.1.2.3.12 ปรับแต่งเครื่องจักรในกรณีที่พบความผิดปกติจากการผลิต | 12.5 บันทึก รายงาน ผลการแก้ไข |
1.1.2.3.12.05 | 146120 |
1.1.2.3.13 รายงานปัญหาเมื่อเกิดสิ่งผิดปกติ (หยุด เรียก รอ) | 13.1 หยุดเครื่องจักร หยุดการผลิต เมื่อพบสิ่งผิดปกติในการทํางาน และบันทึกปัญหาที่เกิดขึ้น |
1.1.2.3.13.01 | 146121 |
1.1.2.3.13 รายงานปัญหาเมื่อเกิดสิ่งผิดปกติ (หยุด เรียก รอ) | 13.2 เรียกผู้ที่เกี่ยวข้องเข้ามาตรวจสอบทําการแก้ไข |
1.1.2.3.13.02 | 146122 |
1.1.2.3.13 รายงานปัญหาเมื่อเกิดสิ่งผิดปกติ (หยุด เรียก รอ) | 13.3 เตรียมความพร้อมสําหรับการผลิต |
1.1.2.3.13.03 | 146123 |
1.1.2.3.14 บันทึก รายงาน การผลิตยางฉาบเส้นใยเหล็ก | 14.1 ตรวจสอบและบันทึก - จํานวนผลผลิตตามแผน - ชิ้นงานเสียที่เกิดขึ้น - ปัญหาในการผลิต |
1.1.2.3.14.01 | 146124 |
1.1.2.3.14 บันทึก รายงาน การผลิตยางฉาบเส้นใยเหล็ก | 14.2 บันทึกรายงานผลการรับยางมาฉาบและผลการฉาบยางเส้นใยเหล็กได้ถูกต้องชัดเจนตามบันทึก |
1.1.2.3.14.02 | 146125 |
1.1.2.3.15 ตัดเก็บตัวอย่างส่งห้องทดลอง | 15.1 ตัดชิ้นส่วนยางฉาบเส้นใยเหล็กตามขนาดที่คู่มือการปฏิบัติงานกําหนด |
1.1.2.3.15.01 | 146126 |
1.1.2.3.15 ตัดเก็บตัวอย่างส่งห้องทดลอง | 15.2 ตรวจวัดขนาดชิ้นงานทดลองตามขนาดที่คู่มือการปฏิบัติงานกําหนด |
1.1.2.3.15.02 | 146127 |
1.1.2.3.15 ตัดเก็บตัวอย่างส่งห้องทดลอง | 15.3 จัดเก็บชิ้นงานตัวอย่างตามคู่มือการปฏิบัติงานกําหนด |
1.1.2.3.15.03 | 146128 |
1.1.2.3.15 ตัดเก็บตัวอย่างส่งห้องทดลอง | 15.4 ส่งชิ้นงานตัวอย่างห้องทดลองตามคู่มือการปฏิบัติงานกําหนด |
1.1.2.3.15.04 | 146129 |
1.1.2.3.16 แก้ปัญหาในกรณีแก้เหตุฉุกเฉินไฟฟ้าดับหรือไฟตก | 16.1 ปฏิบัติตามแผนฉุกเฉิน เมื่อ ไฟดับ หรือไฟตก |
1.1.2.3.16.01 | 146130 |
1.1.2.3.16 แก้ปัญหาในกรณีแก้เหตุฉุกเฉินไฟฟ้าดับหรือไฟตก | 16.2 แจ้ง / รายงานผลการปฏิบัติแผนฉุกเฉิน |
1.1.2.3.16.02 | 146131 |
1.1.2.3.2 ปรับตั้งค่าควบคุมเครื่องฉาบยางฉาบเส้นใยเหล็กตามเกณฑ์ | 2.1 ปรับตั้งค่าอุณหภูมิลูกกลิ้งชุดอุ่นและชุดเคลือบตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
1.1.2.3.2.01 | 146090 |
1.1.2.3.2 ปรับตั้งค่าควบคุมเครื่องฉาบยางฉาบเส้นใยเหล็กตามเกณฑ์ | 2.2 ปรับตั้งค่าความหนาของ calender ตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
1.1.2.3.2.02 | 146091 |
1.1.2.3.2 ปรับตั้งค่าควบคุมเครื่องฉาบยางฉาบเส้นใยเหล็กตามเกณฑ์ | 2.3 เปรียบเทียบข้อมูลค่าควบคุมเครื่องตรงกับแผนการผลิต ป้อนค่าควบคุมได้ถูกต้องตามข้อมูล คู่มือการปฏิบัติงานที่กําหนด ตรวจสอบยืนยันข้อมูลที่ป้อนเข้าเครื่องฉาบยางฉาบเส้นใยเหล็ก และบันทึกข้อมูลเครื่องในการผลิตลงในรายงาน |
1.1.2.3.2.03 | 146092 |
1.1.2.3.3 ตรวจสอบอุณหภูมิยางฉาบ | 3.1 ตรวจสอบอุณหภูมิชุดอุ่นร้อนเส้นใยเหล็ก |
1.1.2.3.3.01 | 146093 |
1.1.2.3.3 ตรวจสอบอุณหภูมิยางฉาบ | 3.2 ตรวจสอบอุณหภูมิชุดอุ่นร้อนเคลือบเส้นใยเหล็ก |
1.1.2.3.3.02 | 146094 |
1.1.2.3.3 ตรวจสอบอุณหภูมิยางฉาบ | 3.3 ตรวจสอบอุณหภูมิชุด Cooling |
1.1.2.3.3.03 | 146095 |
1.1.2.3.3 ตรวจสอบอุณหภูมิยางฉาบ | 3.4 ตรวจสอบอุณหภูมิของยางที่ฉาบตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
1.1.2.3.3.04 | 146096 |
1.1.2.3.3 ตรวจสอบอุณหภูมิยางฉาบ | 3.5 ปรับตั้งค่าอุณหภูมิยางที่ฉาบเส้นใยเหล็ก |
1.1.2.3.3.05 | 146097 |
1.1.2.3.3 ตรวจสอบอุณหภูมิยางฉาบ | 3.6 บันทึกผลค่าการปรับตั้ง |
1.1.2.3.3.06 | 146098 |
1.1.2.3.4 ตรวจสอบความชื้นและอุณหภูมิของห้องเส้นใยเหล็ก | 4.1 บันทึกค่าความชื้นจากเครื่องวัด |
1.1.2.3.4.01 | 146099 |
1.1.2.3.4 ตรวจสอบความชื้นและอุณหภูมิของห้องเส้นใยเหล็ก | 4.2 ตรวจสอบอุณหภูมิของเส้นใยเหล็กตามเกณฑ์ |
1.1.2.3.4.02 | 146100 |
1.1.2.3.4 ตรวจสอบความชื้นและอุณหภูมิของห้องเส้นใยเหล็ก | 4.3 ปรับตั้งค่าอุณหภูมิเส้นใยเหล็ก |
1.1.2.3.4.03 | 146101 |
1.1.2.3.4 ตรวจสอบความชื้นและอุณหภูมิของห้องเส้นใยเหล็ก | 4.4 บันทึกผลค่าการปรับตั้ง |
1.1.2.3.4.04 | 146102 |
1.1.2.3.5 เรียงเส้นใยเหล็กเข้าเครื่องฉาบยางตามเกณฑ์ | 5.1 ตรวจสอบการออกเพื่อให้เส้นใยเหล็กมีจํานวนเส้นตรงกับคู่มือการปฏิบัติงานก่อนผลิต |
1.1.2.3.5.01 | 146103 |
1.1.2.3.5 เรียงเส้นใยเหล็กเข้าเครื่องฉาบยางตามเกณฑ์ | 5.2 ตรวจสอบเส้นทางการลําเลียงเส้นใยเหล็กให้ถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงาน (จากม้วนเส้นใยเหล็กจนเข้าดายเส้นใยเหล็ก) |
1.1.2.3.5.02 | 146104 |
1.1.2.3.5 เรียงเส้นใยเหล็กเข้าเครื่องฉาบยางตามเกณฑ์ | 5.3 ตรวจสอบขนาดเส้นใยเหล็กตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
1.1.2.3.5.03 | 146105 |
1.1.2.3.5 เรียงเส้นใยเหล็กเข้าเครื่องฉาบยางตามเกณฑ์ | 5.4 เรียงเส้นใยเหล็กใส่ดาย ตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
1.1.2.3.5.04 | 146106 |
1.1.2.3.6 ตรวจความตึง ความถี่เส้นใยเหล็ก และความหนายางที่เคลือบเส้นใยเหล็กขณะผลิต | 6.1 ตรวจสอบและปรับความตึง ความถี่ และความหนาของเส้นใยเหล็กได้ตาม คู่มือการปฏิบัติงาน และบันทึกผลการตรวจสอบ |
1.1.2.3.6.01 | 146107 |
1.1.2.3.6 ตรวจความตึง ความถี่เส้นใยเหล็ก และความหนายางที่เคลือบเส้นใยเหล็กขณะผลิต | 6.2 ตรวจสอบและปรับความหนาของยางที่ฉาบเส้นใยเหล็ก และบันทึกผลการตรวจสอบ |
1.1.2.3.6.02 | 146108 |
1.1.2.3.7 ตรวจสภาพภายนอกของ ยางที่ฉาบเส้นใยเหล็ก (Appearance Check) | 7.1 ตรวจสอบสภาพผิวตําหนิของยางที่ฉาบเส้นใยเหล็ก และบันทึกผลการตรวจสอบ |
1.1.2.3.7.01 | 146109 |
1.1.2.3.7 ตรวจสภาพภายนอกของ ยางที่ฉาบเส้นใยเหล็ก (Appearance Check) | 7.2 ตรวจสอบขนาดความกว้าง ความยาวและความหนาของยางที่ฉาบเส้นใยเหล็กและบันทึกผลการตรวจสอบ |
1.1.2.3.7.02 | 146110 |
1.1.2.3.7 ตรวจสภาพภายนอกของ ยางที่ฉาบเส้นใยเหล็ก (Appearance Check) | 7.3 ทําสัญลักษณ์ระบุตําหนิหรือความผิดปกติของชิ้นงานตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
1.1.2.3.7.03 | 146111 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. ทักษะการใช้เครื่องมือชั่งน้ําหนัก และเครื่องมือวัดความหนา (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความรู้เกี่ยวกับศัพท์เทคนิคเบื้องต้นทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
กระบวนการผลิตยางฉาบเส้นใยเหล็กจนเสร็จสิ้นได้ผลผลิตที่ถูกจัดเก็บในคลังหรือสถานที่ที่พร้อมนําออกมาใช้งาน |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
1. สอบทฤษฎี |