หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

บริหารความเสี่ยงการขนส่งสินค้า

สาขาวิชาชีพโลจิสติกส์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ LOG-GIMG-658A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ บริหารความเสี่ยงการขนส่งสินค้า

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

   ผู้ปฏิบัติการควบคุมรถบรรทุกสำหรับการขนส่งทางถนน 



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
   บุคคลที่ทำหน้าที่ปฏิบัติการวางแผนป้องกันสภาวะฉุกเฉิน การจัดการความเสี่ยงจาการขนส่งสินค้า การจัดการความเสี่ยงป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในการขับขี่ และการรายงานความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้า  

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
8332 ผู้ขับรถบรรทุกขนาดใหญ่

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
1) ใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ส่วนบุคคล หรือสูงกว่า2) ใบอนุญาตขับขี่ตั้งแต่ประเภท 2 ขึ้นไป และมีใบอนุญาตขับขี่ตรงตามประเภทรถที่รับการประเมิน3) พรบ.การขนส่งทางบก พ.ศ.2522 4) พรบ.รถยนต์ พ.ศ.25225) พรบ.จราจรทางบก พ.ศ.2522

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
211061 วางแผนป้องกันสภาวะฉุกเฉิน 1. วางแผนการป้องกันสภาวะฉุกเฉินอย่างเหมาะสมตามมาตรฐานของสถานประกอบการที่กำหนด 211061.01 104750
211061 วางแผนป้องกันสภาวะฉุกเฉิน 2. ป้องกันสภาวะฉุกเฉินถูกดำเนินการอย่างถูกต้องตามมาตรฐานของสถานประกอบการที่กำหนด 211061.02 104751
211061 วางแผนป้องกันสภาวะฉุกเฉิน 3. จัดการเก็บกู้สินค้าอย่างปลอดภัยตามมาตรฐานของสถานประกอบการที่กำหนด 211061.03 104752
211062 จัดการความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้า 1. กำหนดนโยบายป้องกันความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้าอย่างชัดเจน 211062.01 104753
211062 จัดการความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้า 2.ดำเนินการตามนโยบายป้องกันความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพ 211062.02 104754
211062 จัดการความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้า 3. ติดตามความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้าอย่างครบถ้วน 211062.03 104755
211063 จัดการความเสี่ยงป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในการขับขี่ 1. กำหนดนโยบายป้องกันความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุในการขับขี่อย่างชัดเจน 211063.01 104756
211063 จัดการความเสี่ยงป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในการขับขี่ 2.ดำเนินการตามนโยบายป้องกันความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุในการขับขี่อย่างมีประสิทธิภาพ 211063.02 104757
211063 จัดการความเสี่ยงป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในการขับขี่ 3. ติดตามความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุในการขับขี่อย่างครบถ้วน 211063.03 104758
211064 รายงานความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้า 1. จัดทำรายงานความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้าอย่างถูกต้องและครบถ้วน 211064.01 104759
211064 รายงานความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้า 2. เสนอรายงานรายงานความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้าอย่างครบถ้วน 211064.02 104760

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

ไม่ระบุ


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ปฏิบัติการวางแผนป้องกันสภาวะฉุกเฉิน

  1.1 สามารถวางแผนการป้องกันสภาวะฉุกเฉินอย่างเหมาะสมตามมาตรฐาน

  1.2 สามารถป้องกันสภาวะฉุกเฉินถูกดำเนินการอย่างถูกต้องตามมาตรฐาน

  1.3 สามารถจัดการเก็บกู้สินค้าอย่างปลอดภัย

2. ปฏิบัติการจัดการความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้า

  2.1 สามารถกำหนดนโยบายป้องกันความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้าอย่างชัดเจน

  2.2 สามารถดำเนินการตามนโยบายป้องกันความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพ

  2.3 สามารถติดตามความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้าอย่างครบถ้วน

3. ปฏิบัติการจัดการความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุในการขับขี่

  3.1 สามารถกำหนดนโยบายป้องกันความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุในการขับขี่อย่างชัดเจน

  3.2 สามารถดำเนินการตามนโยบายป้องกันความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุในการขับขี่อย่างมีประสิทธิภาพ

  3.3 สามารถติดตามความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุในการขับขี่อย่างครบถ้วน

4. ปฏิบัติการรายงานความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้า

  4.1 สามารถจัดทำรายงานความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้าอย่างถูกต้องและครบถ้วน

  4.2 สามารถเสนอรายงานรายงานความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้าอย่างครบถ้วน


(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. การจัดการขนส่งสินค้าทางถนน

2. การบริหารจัดการการควบคุมการขับรถบรรทุกเพื่อการขนส่งสินค้า

3. การบริหารเทคโนโลยี

4. การบริหารความเสี่ยง

 



14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

   หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

   1. เอกสารรับรองการปฏิบัติงานหรือผลการประเมินการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ

   2. เอกสารการประเมินตามหน่วยสมรรถนะครอบคลุมคุณวุฒิวิชาชีพ

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

   1. เอกสารรับรองการผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้องกับการขับรถบรรทุกขนส่งสินค้าทางถนน

   2. เอกสารรับรองการผ่านการสอบข้อเขียนหรือผลการทดสอบความรู้

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

   ประเมินเกี่ยวกับการบริหารจัดการการควบคุมการขับรถบรรทุกเพื่อการขนส่งสินค้า โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานด้านความรู้

(ง) วิธีการประเมิน

   1. พิจารณาหลักฐานความรู้

   2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน



15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ

   การปฏิบัติการวางแผนป้องกันสภาวะฉุกเฉิน การจัดการความเสี่ยงจาการขนส่งสินค้า การจัดการความเสี่ยงป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในการขับขี่ และการรายงานความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้า

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

   1. การวางแผนป้องกันสภาวะฉุกเฉิน จะต้องวางแผนการป้องกันสภาวะฉุกเฉินตามมาตรฐาน ป้องกันสภาวะฉุกเฉินถูกดำเนินการตามมาตรฐาน และจัดการเก็บกู้สินค้าอย่างปลอดภัย

   2. การจัดการความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้า จะต้องกำหนดนโยบายป้องกันความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้า ดำเนินการตามนโยบายป้องกันความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้า ติดตามความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้า

   3. การจัดการความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุในการขับขี่ จะต้องกำหนดนโยบายป้องกันความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุในการขับขี่ ดำเนินการตามนโยบายป้องกันความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุในการขับขี่ และติดตามความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุในการขับขี่

   4. การรายงานความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้า จะต้องจัดทำรายงานความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้า และเสนอรายงานรายงานความเสี่ยงจากการขนส่งสินค้า

   5. รถบรรทุกสินค้า หมายถึง รถบรรทุกขนาดเล็ก รถบรรทุกขนาดใหญ่ รถบรรทุกลากจูง และรถบรรทุกวัตถุอันตรายที่บรรทุก สิ่งของ วัตถุ ที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต โดยใช้การขนส่งสินค้าประเภททางถนน 



16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1. เครื่องมือการประเมิน

  1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 

  2. แบบประเมินจากการสัมภาษณ์

     ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

2. เครื่องมือการประเมิน

  1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 

  2. แบบประเมินจากการสัมภาษณ์

    ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

3. เครื่องมือการประเมิน

  1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 

  2. แบบประเมินจากการสัมภาษณ์

    ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

4. เครื่องมือการประเมิน

  1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 

  2. แบบประเมินจากการสัมภาษณ์

   ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน




ยินดีต้อนรับ