หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ปูบาทวิถีให้ถูกต้องตามมาตรฐานของผู้ผลิต

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมก่อสร้างและการผังเมือง


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ CIP-CBD-2-026ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ปูบาทวิถีให้ถูกต้องตามมาตรฐานของผู้ผลิต

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ช่างปูบาทวิถี (Pavement)



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
             หน่วยสมรรถนะนี้จะเกี่ยวข้องกับการปูบาทวิถี บนพื้นทรายหรือบนพื้นคอนกรีตที่เตรียมไว้ ปูกระเบื้องคอนกรีต บนพื้นทรายหรือบนพื้นคอนกรีตที่เตรียมไว้ การจัดแนวและวางตำแหน่งวัสดุบาทวิถีก่อนการปู และวางส่วนประกอบบนพื้นทรายหรือบนพื้นคอนกรีตที่เตรียมไว้             หน่วยสมรรถนะนี้เหมาะกับผู้เข้ารับการประเมินที่มีทักษะฝีมือขั้นพื้นฐานทั่วไป แก้ปัญหาพื้นฐานในการปฏิบัติงานได้อย่างจำกัด ภายใต้การดูแลของผู้มีตำแหน่งงานที่สูงกว่า

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อุตสาหกรรมก่อสร้าง

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
40311 การเตรียมพื้นที่ปูบาทวิถี 1.1 ปูบาทวิถีได้แนวและลวดลายตามที่กำหนด 40311.01 143129
40311 การเตรียมพื้นที่ปูบาทวิถี 1.2 ปูบาทวิถีได้ระดับและได้ระนาบสม่ำเสมอตลอดบริเวณที่ปู 40311.02 143130
40311 การเตรียมพื้นที่ปูบาทวิถี 1.3 รอยต่อของวัสดุปูบาทวิถีได้ขนาดตามแบบที่กำหนด 40311.03 143131
40312 วางส่วนประกอบบนพื้นทรายหรือบนพื้นคอนกรีตที่เตรียมไว้ 2.1 ปูบาทวิถีได้แนวและลวดลายตามที่กำหนด 40312.01 143132
40312 วางส่วนประกอบบนพื้นทรายหรือบนพื้นคอนกรีตที่เตรียมไว้ 2.2 ปูบาทวิถีได้ระดับและได้ระนาบสม่ำเสมอตลอดบริเวณที่ปู 40312.02 143133
40312 วางส่วนประกอบบนพื้นทรายหรือบนพื้นคอนกรีตที่เตรียมไว้ 2.3 รอยต่อของวัสดุปูบาทวิถีได้ขนาดตามแบบที่กำหนด 40312.03 143134
40313 การบดอัดทรายลองใต้บาทวิถี 3.1 จัดแนวปูพื้นบาทวิถีได้ตามแบบที่กำหนด 40313.01 143135
40313 การบดอัดทรายลองใต้บาทวิถี 3.2 วางตำแหน่งจุดเริ่มปูบาทวิถีได้ตามแบบที่กำหนด 40313.02 143136
40313 การบดอัดทรายลองใต้บาทวิถี 3.3 กำหนดระดับของพื้นทรายบดอัดก่อนปูบาทวิถีได้ถูกต้องตามความหนาของวัสดุปู 40313.03 143137
40313 การบดอัดทรายลองใต้บาทวิถี 3.4 ระบุปัญหาหรือข้อจำกัดที่อาจเกิดขึ้นในการจัดหรือวางตำแหน่งการปู 40313.04 143138
40314 การปูบาทวิถีให้ถูกต้องตามแบบที่กำหนด 4.1 กำหนดแนวและระดับในการวางขอบคันหินได้ 40314.01 143139
40314 การปูบาทวิถีให้ถูกต้องตามแบบที่กำหนด 4.2 วางขอบคันหินได้ตามแบบที่กำหนด 40314.02 143140

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

(ก) ความรู้ก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Knowledge)



1. สามารถอ่านเขียนภาษาไทยได้



2. มีความรู้เรื่องการปูบาทวิถีและปูกระเบื้องคอนกรีต



(ข) ทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill)



1. มีทักษะการปูบาทวิถี และวางส่วนประกอบ



2. มีทักษะการปูกระเบื้องคอนกรีต และวางส่วนประกอบ


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

เตรียมพื้นได้ถูกต้องตามความหนาของวัสดุปูบาทวิถี

(ข) ความต้องการด้านความรู้

รู้ลักษณะการเตรียมพื้นก่อนปูบาทวิถี


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



แบบบันทึกการสังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการปฏิบัติงานจริง



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



แบบบันทึกจากการสัมภาษณ์



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



การประเมินหลักฐานด้านทักษะและความรู้ ผู้ประเมินจะต้องมีประสบการณ์ด้านหน่วยสมรรถนะนี้อย่างน้อย 1 ปีขึ้นไป มีประสบการณ์ในการปูบาทวิถี



วิธีการประเมิน



1. พิจารณาจากหลักฐานแบบบันทึกการสังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการปฏิบัติงานจริง



2. พิจารณาจากหลักฐานแบบบันทึกจากการสัมภาษณ์


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ



ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปูบาทวิถี และปูกระเบื้องคอนกรีต การจัดแนวและวางตำแหน่งวัสดุบาทวิถีก่อนการปู และวางส่วนประกอบบนพื้นทรายหรือบนพื้นคอนกรีตที่เตรียมไว้



 (ข) คำอธิบายรายละเอียด



1. จัดแนว หมายถึง การกำหนดแนวรอยต่อของแผ่นให้ตรงกัน และร่องของแผ่นให้ได้ขนาดร่อง แนวของแผ่นตามแบบที่กำหนด



2. ระบุปัญหา หมายถึง การที่จะปูบาทวิถี หรือปูกระเบื้องคอนกรีต จะตัดไปชนกับวัสดุอื่นๆ หากเป็นเศษเล็กไม่สามารถปูได้ ทำให้การตัดปรับระยะร่องรอยต่อใหม่ หรือต้องใช้วัสดุการปูหรือติดตั้งแบบใหม่


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1. เครื่องมือประเมินการปูบาทวิถีบนพื้นทรายหรือบนพื้นคอนกรีตที่เตรียมไว้



1. ทดสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ และ



2. แบบสังเกตการณ์ทำงาน/สาธิตการทำงาน



(ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน)



2. เครื่องมือประเมินการปูกระเบื้องคอนกรีตบนพื้นทรายหรือบนพื้นคอนกรีตที่เตรียมไว้



1. ทดสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ และ



2. แบบสังเกตการณ์ทำงาน/สาธิตการทำงาน



(ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน)



3. เครื่องมือประเมินการจัดแนวและวางตำแหน่งวัสดุบาทวิถีก่อนการปู



1. ทดสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ และ



2. แบบสังเกตการณ์ทำงาน/สาธิตการทำงาน



(ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน)



4. เครื่องมือประเมินการวางส่วนประกอบบนพื้นทรายหรือบนพื้นคอนกรีตที่เตรียมไว้



1. ทดสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ และ



2. แบบสังเกตการณ์ทำงาน/สาธิตการทำงาน



(ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน)



 



 



 



ยินดีต้อนรับ