หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ใช้เครื่องมือวัด ถ่ายระดับ แนวดิ่ง แนวราบ แนวฉากได้อย่างถูกต้อง

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมก่อสร้างและการผังเมือง


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ CIP-CFB-4-039ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ใช้เครื่องมือวัด ถ่ายระดับ แนวดิ่ง แนวราบ แนวฉากได้อย่างถูกต้อง

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

         ช่างสร้าง และติดตั้งไม้โครงสร้าง (Carpenter)



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ประกอบติดตั้งโครงเคร่า กรอบประตูกรอบหน้าต่าง บันได ปูพื้นด้วยไม้แข็ง กรุ / บุ วัสดุแผ่น พร้อมตกแต่ง  ติดตั้งอุปกรณ์ระหว่างไม้และโลหะ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อุตสาหกรรมก่อสร้าง

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
20321 หาระดับแนวดิ่ง แนวราบ แนวฉากขอบเขตที่ใช้ในการทำงาน 1.1อธิบายใช้เครื่องมือในการหาระดับแนวดิ่งอย่างถูกต้อง 20321.01 142863
20321 หาระดับแนวดิ่ง แนวราบ แนวฉากขอบเขตที่ใช้ในการทำงาน 1.2อธิบายใช้เครื่องมือในการหาระดับแนวราบได้อย่างถูกต้อง 20321.02 142864
20321 หาระดับแนวดิ่ง แนวราบ แนวฉากขอบเขตที่ใช้ในการทำงาน 1.3อธิบายใช้เครื่องมือในการหาระดับแนวฉากได้อย่างถูกต้อง 20321.03 142865
20321 หาระดับแนวดิ่ง แนวราบ แนวฉากขอบเขตที่ใช้ในการทำงาน 1.4 อธิบายการใช้เครื่องมือในการวัดระยะได้อย่างถูกต้อง 20321.04 142866
20322 ตรวจแนว, ระดับ และระนาบของโครงสร้างไม้ได้รูปตามแบบ 2.1 สามารถหาระดับแนวดิ่งได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย 20322.01 142867
20322 ตรวจแนว, ระดับ และระนาบของโครงสร้างไม้ได้รูปตามแบบ 2.2 สามารถหาแนวราบได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย 20322.02 142868
20322 ตรวจแนว, ระดับ และระนาบของโครงสร้างไม้ได้รูปตามแบบ 2.3 สามารถหาแนวฉาก ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย 20322.03 142869

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

        ผู้รับการประเมินสามารถเลือกใช้ ตรวจสอบความบกพร่อง เสียหาย และเตรียมวัสดุต่างๆ ได้อย่างถูกต้องตามแบบรูป รายการที่กำหนด และต้องมีความรู้เกี่ยวกับ วัสดุชนิดต่างๆ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง สำหรับงานไม้โครงสร้าง และสามารถเลือกใช้ชนิดของวัสดุไม้ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้องเหมาะสม กับงานไม้โครงสร้าง ลักษณะงานประเภทต่างๆ


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. เลือกใช้ และเตรียมเครื่องมือพื้นฐาน เครื่องมือกลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมกับลักษณะงาน



2. หาระดับหรือฉากต่างๆได้อย่างถูกวิธี

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. เครื่องมือที่ใช้ในงานช่างไม้โครงสร้าง ลักษณะงานประเภทต่างๆ



2. การเลือกใช้ การบำรุงรักษา และการ


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



1. แบบทดสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ และ



2. แบบสังเกตการปฏิบัติงาน/สาธิตการทำงาน



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



1. ผลการสอบข้อเขียน จากแบบทดสอบความรู้ และ



2. แบบสังเกตการปฏิบัติงาน/สาธิตการทำงาน



 (ค) คำแนะนำในการประเมิน



ผู้ประเมินตรวจประเมิน เกี่ยวกับ การเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ ได้ถูกต้องเหมาะสมกับลักษณะงานหาระดับและหาฉาก ลักษณะประเภทต่างๆ ตลอดจนการบำรุงรักษา และการจัดเก็บอย่างถูกวิธี โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้



 วิธีการประเมิน



1. ทดสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ และ



2. สังเกตการปฏิบัติงาน/สาธิตการทำงาน


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ



ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสำคัญเกี่ยวกับ การเลือกใช้ การบำรุงรักษา และการจัดเก็บ เครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในงานหาระดับได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับลักษณะงาน



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



เครื่องมือที่ใช้ในงานไม้โครงสร้าง เช่น เครื่องมือวัดระยะและวางแบบ เป็นต้น      


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1. เครื่องมือประเมิน เลือกเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้ถูกต้องเหมาะสมกับลักษณะงาน



    1. แบบทดสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ และ



   2. แบบสังเกตการปฏิบัติงาน/สาธิตการทำงาน



          (ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน)



2. เครื่องมือประเมิน บำรุงรักษา และจัดเก็บเครื่องมือต่างๆ ได้อย่างถูกวิธี



    1. แบบทดสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ และ



   2. แบบสังเกตการปฏิบัติงาน/สาธิตการทำงาน



            (ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน)



 



ยินดีต้อนรับ