หน่วยสมรรถนะ
เขียนแบบและอ่านแบบโครงสร้างเบื้องต้น
สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมก่อสร้างและการผังเมือง
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | CIP-WCCO-077B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | เขียนแบบและอ่านแบบโครงสร้างเบื้องต้น |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / - |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
ช่างเขียนแบบโครงสร้าง (Structural draftsman) |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะสามารถเขียนแบบและร่างแบบโครงสร้างเบื้องต้นด้วยคอมพิวเตอร์ เขียนแบบรายละเอียด แบบขยายงานโครงสร้าง และรายการประกอบแบบโครงสร้าง รวมถึงอ่านแบบโครงสร้าง อ่านสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบโครงสร้าง บอกมาตรฐานการเขียนแบบโครงสร้างเบื้องต้น |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
อุตสาหกรรมก่อสร้าง |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
1. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สำหรับงานเขียนแบบ2. คู่มือปฏิบัติวิชาชีพ มาตรฐานการเขียนแบบก่อสร้าง ฉบับปี พ.ศ. 2554 สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
10221 เขียนแบบ และร่างแบบโครงสร้างเบื้องต้นด้วยคอมพิวเตอร์ | 1.1เขียนแบบรายละเอียด แบบขยายงานโครงสร้างเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง | 10221.01 | 135553 |
10221 เขียนแบบ และร่างแบบโครงสร้างเบื้องต้นด้วยคอมพิวเตอร์ | 1.2อธิบายรายการประกอบแบบโครงสร้างเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง | 10221.02 | 135554 |
10222 อ่านสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบโครงสร้างเบื้องต้น | 2.1 อธิบายข้อมูลของงานเขียนแบบโครงสร้างเบื้องต้นได้จากการได้รับคำแนะนำ | 10222.01 | 135555 |
10222 อ่านสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบโครงสร้างเบื้องต้น | 2.2 บอกมาตรฐานการเขียนแบบโครงสร้างเบื้องต้นได้ | 10222.02 | 135556 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
1. ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการเขียนแบบและร่างแบบโครงสร้างพื้นฐานด้วยคอมพิวเตอร์ 2. อ่านสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบโครงสร้างพื้นฐาน |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. การเขียนแบบรายละเอียดและแบบขยายงานโครงสร้างเบื้องต้น 2. การจัดทำรายการประกอบแบบโครงสร้างเบื้องต้น 3. การอ่านแบบงานโครงสร้างเบื้องต้น 4. การใช้สัญลักษณ์ในงานเขียนแบบโครงสร้างเบื้องต้น (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. วิธีการและขั้นตอนการเขียนแบบรายละเอียด และแบบขยายงานโครงสร้างเบื้องต้น 2. วิธีการและขั้นตอนการจัดทำรายการประกอบแบบโครงสร้างเบื้องต้น 3. ชนิดและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบโครงสร้าง 4. ลักษณะของมาตรฐานการเขียนแบบ 5. การใช้มาตราส่วน 6. การบอกขนาดมิติ |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) - แบบสังเกตการปฏิบัติงาน/สาธิตการทำงาน (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) - ผลการสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ (ค) คำแนะนำในการประเมิน ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการเขียนแบบและร่างแบบโครงสร้างเบื้องต้นด้วยคอมพิวเตอร์ และการอ่านแบบโครงสร้างเบื้องต้น โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้ (ง) วิธีการประเมิน 1. ทดสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ และ 2. แบบสังเกตการปฏิบัติงาน/สาธิตการทำงาน |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
การเขียนแบบโครงสร้างเบื้องต้น การเขียนแบบและร่างแบบโครงสร้างเบื้องต้นด้วยคอมพิวเตอร์ การเขียนแบบรายละเอียด แบบขยายงานโครงสร้างเบื้องต้น การอธิบายรายการประกอบแบบโครงสร้างเบื้องต้น การอ่านแบบโครงสร้างเบื้องต้น การอ่านสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบโครงสร้างเบื้องต้น ข้อมูลของงานเขียนแบบโครงสร้างเบื้องต้น การบอกมาตรฐานการเขียนแบบโครงสร้างเบื้องต้น (ก) คำแนะนำ ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีความรู้ความเข้าใจถึงการเขียนแบบโครงสร้างเบื้องต้น การเขียนแบบและร่างแบบโครงสร้างเบื้องต้นด้วยคอมพิวเตอร์ การเขียนแบบรายละเอียด แบบขยายงานโครงสร้างเบื้องต้น การอธิบายรายการประกอบแบบโครงสร้างเบื้องต้น การอ่านแบบ การอ่านสัญลักษณ์และข้อมูลของงานเขียนแบบโครงสร้างเบื้องต้น และการบอกมาตรฐานการเขียนแบบโครงสร้างเบื้องต้น (ข) คำอธิบายรายละเอียด 1. โปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้ในการเขียนแบบคือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถนำมาใช้ในการเขียนแบบ 2 มิติ หรือ 3 มิติ เช่น AutoCAD, GstarCAD, ArchiCAD, Revit เป็นต้น 2. เขียนแบบรายละเอียด (Shop drawing) ได้แก่ การเขียนแบบแสดงรายละเอียดที่จำเป็นเพื่อใช้ในการก่อสร้าง 3. มาตรฐานการเขียนแบบ ได้แก่ ขนาดและรูปแบบกระดาษเขียนแบบ มาตรฐานรูปลักษณ์การเขียนแบบ ระบบอ้างอิง พิกัด มาตราส่วน การวาดเส้นต่างๆ เป็นต้น 4. สัญลักษณ์ในงานเขียนแบบโครงสร้าง ได้แก่ สัญลักษณ์ที่ใช้ประกอบแบบก่อสร้าง เช่น สัญลักษณ์เส้นชนิดต่างๆ สัญลักษณ์ผนังชนิดต่างๆ สัญลักษณ์วัสดุก่อสร้าง |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
1. เครื่องมือประเมิน การเขียนแบบและร่างแบบโครงสร้างเบื้องต้นด้วยคอมพิวเตอร์ 1. ทดสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ และ 2. แบบสังเกตการปฏิบัติงาน/สาธิตการทำงาน (ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน) 2. การอ่านสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบโครงสร้างเบื้องต้น 1. ทดสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ และ 2. แบบสังเกตการปฏิบัติงาน/สาธิตการทำงาน (ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน) |