หน่วยสมรรถนะ
สอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐานประเภท Force Gauge, Push-Pull Gauge โดยใช้เครื่องมือมาตรฐาน Dead weight
สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | TAA-HWAX-201B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | สอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐานประเภท Force Gauge, Push-Pull Gauge โดยใช้เครื่องมือมาตรฐาน Dead weight |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / - |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
01FR2 ผู้สอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรง ขั้น 2 3115 Mechanical engineering technicians 1 3115 ช่างเทคนิคด้านวิศวกรรมเครื่องกล |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้สามารถปฏิบัติการสอบเทียบ บันทึกผล และคำนวณผลการสอบเทียบของเครื่องมือวัดแรงประเภทเครื่องมือวัดแรงขั้นพื้นฐานตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
N/A |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
01FR2201 เตรียมความพร้อมก่อนการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐานประเภท Force Gauge, Push-Pull Gauge | 1.เลือกใช้เครื่องมือมาตรฐานให้เหมาะสมกับชนิดเครื่องมือที่ต้องการสอบเทียบได้อย่างถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงาน | 01FR2201.01 | 142566 |
01FR2201 เตรียมความพร้อมก่อนการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐานประเภท Force Gauge, Push-Pull Gauge | 2. จัดเตรียมความพร้อมของเครื่องมือมาตรฐานให้พร้อมใช้งานได้อย่างถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงาน | 01FR2201.02 | 142567 |
01FR2201 เตรียมความพร้อมก่อนการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐานประเภท Force Gauge, Push-Pull Gauge | 3. จัดเตรียมความพร้อมเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐานที่จะทำการสอบเทียบให้พร้อมใช้งานได้อย่างถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงาน | 01FR2201.03 | 142568 |
01FR2201 เตรียมความพร้อมก่อนการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐานประเภท Force Gauge, Push-Pull Gauge | 4. บันทึกรายละเอียดของเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐานที่จะทำการสอบเทียบและเครื่องมือมาตรฐานได้อย่างถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงาน | 01FR2201.04 | 142569 |
01FR2202 ปฏิบัติการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐานประเภท Force Gauge และ Push-pull Gauge โดยใช้ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน (Dead weight) | 1. กำหนดเกณฑ์ควบคุมสภาวะแวดล้อมของห้องปฏิบัติการสอบเทียบด้านแรงได้อย่างถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงาน | 01FR2202.01 | 142570 |
01FR2202 ปฏิบัติการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐานประเภท Force Gauge และ Push-pull Gauge โดยใช้ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน (Dead weight) | 2. สอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐานตามวิธีการสอบเทียบได้อย่างถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงาน | 01FR2202.02 | 142571 |
01FR2202 ปฏิบัติการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐานประเภท Force Gauge และ Push-pull Gauge โดยใช้ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน (Dead weight) | 3. อ่านค่าเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงาน | 01FR2202.03 | 142572 |
01FR2203 บันทึกและคำนวณผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐานประเภท Force Gauge, Push-Pull Gauge | 1. บันทึกผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงาน | 01FR2203.01 | 142573 |
01FR2203 บันทึกและคำนวณผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐานประเภท Force Gauge, Push-Pull Gauge | 2. ใช้เครื่องมือหรือโปรแกรมประยุกต์สำหรับคำนวณผลการสอบเทียบได้อย่างถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงาน | 01FR2203.02 | 142574 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. สามารถเลือกใช้และเตรียมความพร้อมของเครื่องมือมาตรฐานด้านแรง 2. สามารถจัดเตรียมความพร้อมและสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐานประเภท Force Gauge และ Push - pull Gauge 3. สามารถทำการอ่านค่าจากเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐาน 4. สามารถใช้เครื่องมือหรือโปรแกรมประยุกต์สำหรับคำนวณผลการสอบเทียบ (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความรู้เกี่ยวกับหลักการและขั้นตอนการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรงประเภท เครื่องมือวัดแรงขั้นพื้นฐาน 2. ความรู้เกี่ยวกับวิธีการใช้งานและอ่านค่าของเครื่องมือวัดด้านแรงรวมถึงการทำความสะอาด การเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ 3. ความรู้ในการเลือกใช้เครื่องมือมาตรฐานด้านแรงให้เหมาะสมกับงาน รวมถึงการทำความสะอาด และการจัดเก็บ 4. ความรู้ในการบันทึกและใช้เครื่องมือคำนวณผล 5. ความรู้เกี่ยวกับการสอบกลับได้ (Traceability) ของเครื่องมือมาตรฐาน และเครื่องมือวัด 6. ความรู้ทางสถิติและคณิตศาสตร์ |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. บันทึกประวัติการทำงาน 2. บันทึกการมอบหมายงาน 3. ใบรายงานผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรง (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. ใบรับรองการฝึกอบรม หรือ บันทึกการฝึกปฏิบัติงาน (On the job training) โดยมีผู้ลงนามรับรอง 2. บันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน 3. บันทึกผลข้อสอบข้อเขียน (ค) คำแนะนำในการประเมิน ประเมินการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรงประเภทเครื่องมือวัดแรงขั้นพื้นฐานโดยพิจารณาจากหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้ วิธีการประเมิน 1. พิจารณาจากผลการสอบข้อเขียน 2. พิจารณาจากบันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน 3. พิจารณาจากแฟ้มสะสมผลงาน |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
วิธีการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านแรงประเภทเครื่องมือวัดด้านแรงขั้นพื้นฐาน เป็นวิธีการที่ห้องปฏิบัติการจัดทำขึ้นโดยอ้างอิงตามมาตรฐานแห่งชาติหรือมาตรฐานระหว่างประเทศ หรือเป็นวิธีการที่ห้องปฏิบัติการพัฒนาขึ้นซึ่งได้มีการตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีแล้วสามารถใช้งานได้ เอกสารอ้างอิง 1. ISO 7500-1 Metallic material – Calibration and verification of static uniaxial testing machine-Part 1 : - Calibration and verification of the force measuring system |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
1. ข้อสอบข้อเขียน 2. สาธิตการปฏิบัติงาน 3. แฟ้มสะสมผลงาน |