หน่วยสมรรถนะ
ออกแบบและพัฒนาระบบ การสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านความดัน
สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | TAA-VXCQ-142B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ออกแบบและพัฒนาระบบ การสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านความดัน |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / - |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
01PR5 ผู้สอบเทียบเครื่องมือวัดด้านความดัน ชั้น 5 1 7311 ช่างทำและซ่อมเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำ |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้มีความรู้ ความเข้าใจการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านความดัน สามารถประยุกต์ใช้วิธีมาตรฐานเพื่อการออกแบบวิธีการสอบเทียบให้เหมาะสมกับอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ ตลอดจนสามารถทวนสอบความใช้ได้ของวิธีการสอบเทียบที่ได้ออกแบบและพัฒนาขึ้น |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
7311 ช่างทำและซ่อมเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำสาขาวิชาชีพมาตรวิทยา อาชีพผู้สอบเทียบเครื่องมือวัดด้านความดัน |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
01PR5301 ประยุกต์ใช้วิธีการมาตรฐานอย่างเหมาะสมสำหรับการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านความดัน | 1. เลือกใช้วิธีการวัดเพื่อให้เกิดความคลาดเคลื่อนในระดับที่ยอมรับ | 01PR5301.01 | 142266 |
01PR5301 ประยุกต์ใช้วิธีการมาตรฐานอย่างเหมาะสมสำหรับการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านความดัน | 2. เลือกใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ให้เกิดความคลาดเคลื่อนในระดับที่ยอมรับ | 01PR5301.02 | 142267 |
01PR5302 ออกแบบวิธีการมาตรฐานการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านความดัน ให้เหมาะสมกับห้องปฏิบัติการ | 1. เลือกใช้วิธีการวัดเพื่อให้เกิดความคลาดเคลื่อนในระดับที่ยอมรับ | 01PR5302.01 | 142268 |
01PR5302 ออกแบบวิธีการมาตรฐานการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านความดัน ให้เหมาะสมกับห้องปฏิบัติการ | 2. เลือกใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ให้เกิดความคลาดเคลื่อนในระดับที่ยอมรับ | 01PR5302.02 | 142269 |
01PR5303 ทวนสอบความใช้ได้ของวิธีการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านความดัน | 1. พิสูจน์ยืนยันความถูกต้องของวิธีการวัด | 01PR5303.01 | 142270 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. สอบเทียบเครื่องมือวัดด้านความดัน 2. ใช้งานและดูแลรักษาเครื่องมือมาตรฐานและอุปกรณ์สำหรับการสอบเทียบด้านความดัน 3. อ่านและแปรความหมายของเอกสารวิธีการมาตรฐานแห่งชาติ และนานาชาติได้ (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. มาตรวิทยาการสอบเทียบและการวัด 2. เครื่องมือมาตรฐานและเครื่องมือวัดด้านความดัน 3. วิธีการมาตรฐานต่างๆ สำหรับการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านความดัน 4. ข้อกำหนดมาตรฐาน ISO/IEC 17025 |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. เอกสารวิธีปฏิบัติงาน 2. หลักฐานการออกแบบและพัฒนาการวัดด้านความดัน 3. หลักฐานการพิสูจน์ความใช้ได้ของวิธีการวัด (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. บันทึกการสาธิตการปฏิบัติ 2. บันทึกผลการทดสอบข้อเขียน (ค) คำแนะนำในการประเมิน ตรวจประเมินเกี่ยวกับสมรรถนะข้อการออกแบบและพัฒนาระบบการสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านความดันโดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้ (ง) วิธีการประเมิน 1. พิจารณาจากผลการสอบข้อเขียน 2. พิจารณาจากบันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน 3. พิจารณาจากแฟ้มสะสมผลงาน |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
N/A |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
1. ข้อสอบข้อเขียน 2. สาธิตการปฏิบัติงาน 3. แฟ้มสะสมผลงาน |