หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

บริหารจัดการห้องปฏิบัติการสอบเทียบ

สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ TAA-PTIE-150B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ บริหารจัดการห้องปฏิบัติการสอบเทียบ

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

01QS5 ผู้สอบเทียบเครื่องมือวัด ชั้น 5


1 7311 ช่างทำและซ่อมเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำ

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
          ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้มีความรู้ ความเข้าใจการบริหารงานบุคคลอุปกรณ์ เครื่องมือ และวัสดุสิ้นเปลือง

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
7311 ช่างทำและซ่อมเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำสาขาวิชาชีพมาตรวิทยา สาขาอาชีพผู้สอบเทียบเครื่องมือวัด

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
01QS5101 บริหารจัดการบุคลากร 1. จัดทำแผนการบริหารและจัดการบุคลากรตามระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการ 01QS5101.01 142305
01QS5102 บริหารจัดการอุปกรณ์ เครื่องมือมาตรฐาน และระบบการวัด 1. จัดทำแผนการบริหารและจัดการเครื่องมือตามข้อกำหนดมาตรฐานISO/IEC 17025 01QS5102.01 142306
01QS5103 บริหารจัดการวัสดุสิ้นเปลือง 1. จัดทำแผนการบริหารและจัดการวัสดุสิ้นเปลืองตามระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการ 01QS5103.01 142307
01QS5104 บริหารจัดการด้านบริการแก่ผู้รับบริการ 1. จัดทำแผนการบริหารและจัดการด้านบริการแก่ผู้รับบริการตามระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการ 01QS5104.01 142308

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. การสอบเทียบเครื่องมือวัด



2. การใช้งานและดูแลรักษาเครื่องมือมาตรฐานและเครื่องมือด้านการสอบเทียบ



3. การอ่านและตีความเอกสารวิธีการตามมาตรฐานต่างๆ

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. มาตรวิทยาการสอบเทียบและการวัด



2. เครื่องมือมาตรฐานและเครื่องมือวัด



3. วิธีการมาตรฐานต่างๆ สำหรับการสอบเทียบเครื่องมือวัด



4. ความรู้ข้อกำหนดตามมาตรฐานที่กำหนด


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



          1. ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



          1. ใบรับรองการฝึกอบรม



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



          ตรวจประเมินเกี่ยวกับสมรรถนะการออกแบบและพัฒนาระบบการสอบเทียบ โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้



(ง) วิธีการประเมิน



          1. ผลการประเมินจากข้อสอบข้อเขียน



          2. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน



          3. พิจารณาตามหลักฐานความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

เอกสารระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการ ประกอบด้วย



          1. คู่มือคุณภาพ (Quality manual)



          2. คู่มือวิธีการ (Procedure manual)



          3. คู่มือปฏิบัติงาน (Working instruction)


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1. ข้อสอบข้อเขียน



2. แฟ้มสะสมผลงาน



ยินดีต้อนรับ