หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ออกแบบกระบวนการทดสอบโดยไม่ทำลาย (Design technique & Procedure) ด้วยวิธีใช้สารแทรกซึม (Penetrant Testing)

สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ TAA-GIIG-017B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ออกแบบกระบวนการทดสอบโดยไม่ทำลาย (Design technique & Procedure) ด้วยวิธีใช้สารแทรกซึม (Penetrant Testing)

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

          อาชีพนักทดสอบและตรวจสอบโดยไม่ทำลายด้วยใช้สารแทรกซึม (Penetrant Testing Inspector)



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
          ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะสามารถเลือกใช้มาตรฐานเฉพาะตามลักษณะงาน เพื่อการออกแบบกระบวนการทดสอบโดยไม่ทำลายด้วยวิธีวิธีใช้สารแทรกซึมได้

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
          นักทดสอบและตรวจสอบโดยไม่ทำลายด้วยวิธีใช้สารแทรกซึม

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
20151 เลือกมาตรฐานเฉพาะตามลักษณะงานเพื่อการออกแบบกระบวนการทดสอบโดยไม่ทำลายด้วยวิธีใช้สารแทรกซึม 1. วิเคราะห์ชิ้นงานที่จะทดสอบเพื่อหาจุดบกพร่องที่อาจพบได้ถูกต้อง 20151.01 141474
20151 เลือกมาตรฐานเฉพาะตามลักษณะงานเพื่อการออกแบบกระบวนการทดสอบโดยไม่ทำลายด้วยวิธีใช้สารแทรกซึม 2. เลือกมาตรฐานเฉพาะตามลักษณะงานเพื่อการออกแบบกระบวนการทดสอบได้ถูกต้องและเหมาะสม 20151.02 141475
20152 ออกแบบกระบวนการทดสอบโดยไม่ทำลายด้วยวิธีใช้สารแทรกซึมตามมาตรฐานเฉพาะที่ได้เลือกไว้ 1. สำรวจชิ้นงานที่จะทดสอบเพื่อหาจุดบกพร่องที่อาจพบได้ถูกต้องตามมาตรฐานเฉพาะซึ่งได้เลือกไว้ 20152.01 141476
20152 ออกแบบกระบวนการทดสอบโดยไม่ทำลายด้วยวิธีใช้สารแทรกซึมตามมาตรฐานเฉพาะที่ได้เลือกไว้ 2. ออกแบบกระบวนการทดสอบโดยใช้มาตรฐานเฉพาะได้ถูกต้องตามลักษณะงานซึ่งได้เลือกไว้ 20152.02 141477

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

1. การอ่านแบบงาน



2. การทดสอบโดยไม่ทำลายด้วยวิธีใช้สารแทรกซึม


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

  1. ฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาอังกฤษ ด้านการตรวจสอบโดยไม่ทำลาย



  2. การเขียนขั้นตอนการปฏิบัติงาน

(ข) ความต้องการด้านความรู้

  1. การใช้เครื่องมือทดสอบ



  2. มาตรฐานและเกณฑ์การยอมรับที่ใช้ในงานทดสอบโดยไม่ทำลาย



 

14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



          1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ



          2. แฟ้มสะสมผลงาน



          3. แบบบันทึกการสังเกตการปฏิบัติงาน



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



          1. เอกสารรับรองผลการศึกษาหรือผลการอบรม



          2. แบบบันทึกผลการสอบข้อเขียน



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



          ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการออกแบบกระบวนการทดสอบโดยไม่ทำลายด้วยวิธีใช้สารแทรกซึม โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้



(ง) วิธีการประเมิน



          พิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงานและหลักฐานด้านความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ข) คำอธิบายรายละเอียด



          1. มาตรฐานและเกณฑ์การยอมรับที่กำหนดสำหรับการทดสอบด้วยวิธีใช้สารแทรกซึม



              สำหรับหน่วยสมรรถนะนี้ ได้แก่



                    1.1 ASME Section V (American Society of Mechanical Engineers)



                    1.2 AWS D1.1 (American Welding Society)



                    1.3 ASTM (American Standard of Testing Material)



                    1.4 NTM (Non Destructive Testing Manual)



          2. ประเภทการทดสอบตามมาตรฐานการทดสอบโดยไม่ทำลายด้วยวิธีใช้สารแทรกซึม



              สำหรับหน่วยสมรรถนะนี้ ได้แก่



                    2.1 ASME Section V (American Society of Mechanical Engineers)



                    2.2 AWS D1.1 (American Welding Society)



                    2.3 ASTM (American Standard of Testing Material)



                    2.4 NTM (Non Destructive Testing Manual)


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือประเมิน



          1) แบบทดสอบข้อเขียน



          2) แบบบันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน



18.2 เครื่องมือประเมิน



          1) แบบทดสอบข้อเขียน



          2) แบบบันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน



ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน



ยินดีต้อนรับ