หน่วยสมรรถนะ
ปฏิบัติงานวิเคราะห์
สาขาวิชาชีพการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | FPC-ZZZ-2-065ZA |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ปฏิบัติงานวิเคราะห์ |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / - |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
ผู้ควบคุมคุณภาพในอุตสาหกรรมน้ำตาล |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
บุคคลที่ทำหน้าที่ปฏิบัติงานวิเคราะห์ เพื่อดูแลจุดเก็บตัวอย่างที่จัดทำไว้ให้คงสภาพใช้งานได้ดี และเป็นตัวแทนของตัวอย่างที่ถูกต้องตรวจสอบอุปกรณ์เครื่องมือวัดให้ใช้งานได้อย่างถูกต้อง และจัดเตรียมตัวอย่างในการวิเคราะห์คุณภาพให้ได้ตรงตามข้อกำหนด |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
อุตสาหกรรมการผลิตน้ำตาล |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
1. มาตรฐานสากล เช่น GMP, HACCP, ICUMSA, มอก. 56-2533 |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
B010101 ดูแลจุดเก็บตัวอย่างที่จัดทำไว้ให้คงสภาพใช้งานได้ดี และเป็นตัวแทนของตัวอย่างที่ถูกต้อง | 1.1 ความแม่นยำของบุคลากรในการเก็บตัวอย่าง | 161525 | |
B010101 ดูแลจุดเก็บตัวอย่างที่จัดทำไว้ให้คงสภาพใช้งานได้ดี และเป็นตัวแทนของตัวอย่างที่ถูกต้อง | 1.2 ตรวจเช็คจุดเก็บตัวอย่าง เพื่อให้ได้ตัวอย่างที่มีคุณภาพน่าเชื่อถือ | 161526 | |
B010101 ดูแลจุดเก็บตัวอย่างที่จัดทำไว้ให้คงสภาพใช้งานได้ดี และเป็นตัวแทนของตัวอย่างที่ถูกต้อง | 1.3 เช็คความถี่ในการเก็บตัวอย่าง เพื่อให้เกิดความถูกต้องในการตรวจวัด | 161527 | |
B010102 ตรวจสอบอุปกรณ์เครื่องมือวัดให้ใช้งานได้อย่างถูกต้อง | 1.1 เช็คความเรียบร้อยของเครื่องมือวัดให้มีความพร้อมก่อนการใช้งาน | 161528 | |
B010102 ตรวจสอบอุปกรณ์เครื่องมือวัดให้ใช้งานได้อย่างถูกต้อง | 1.2 เช็คความแม่นยำของเครื่องมือวัดให้เป็นไปตามมาตรฐานของเครื่องมือนั้นๆ | 161529 | |
B010103 จัดเตรียมตัวอย่างในการวิเคราะห์คุณภาพ | 1.1 จัดเตรียมตัวอย่างได้ถูกต้องในการใช้งานวิเคราะห์ต่างๆ | 161530 | |
B010103 จัดเตรียมตัวอย่างในการวิเคราะห์คุณภาพ | 1.2 เตรียมปริมาณ/ความเข้มข้นของตัวอย่างได้ถูกต้อง | 161531 | |
B010104 วิเคราะห์คุณภาพวัตถุดิบ | 1.1 วิเคราะห์คุณภาพวัตถุดิบก่อนกระบวนการผลิตได้ถูกต้องและแม่นยำ | 161532 | |
B010104 วิเคราะห์คุณภาพวัตถุดิบ | 1.2 วิเคราะห์คุณภาพวัตถุดิบระหว่างกระบวนการผลิตน้ำตาลได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ | 161533 | |
B010104 วิเคราะห์คุณภาพวัตถุดิบ | 1.3 วิเคราะห์คุณภาพวัตถุดิบระหว่างกระบวนการผลิตน้ำตาลรีไฟน์ได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ | 161534 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
(ข) ความต้องการด้านความรู้
|
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)
ใบรายงาน หรือแบบฟอร์มบันทึกรายการจากการสังเกตการปฏิบัติงาน
ผลการตอบปากเปล่าจากการสัมภาษณ์ หรือผลการสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ หลักฐานจากใบรับรอง (certificate) ใบผ่านการอบรม ใบผ่านงาน ประกาศนียบัตร วุฒิบัตร และอื่น ๆ ตามที่ภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องยอมรับ
หลักฐานที่ต้องการเพื่อแสดงถึงสมรรถนะในส่วนนี้ ต้องมีความสำคัญและตอบสนองตามข้อกำหนดของสมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน โดยต้องแสดงถึง 1. ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้อง 2. วิธีการปฏิบัติงานในสถานที่ทำงานและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 3. ขอบเขตด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. การประเมินผลความรู้โดยประเมินจาก ข้อสอบข้อเขียน 2. การประเมินผลการปฏิบัติโดยใช้การประเมินจากการสังเกตการณ์ปฏิบัติงานและเอกสารที่เกี่ยวข้อง |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
N/A
ปฏิบัติงานวิเคราะห์ คือ การดูแลจุดเก็บตัวอย่างที่จัดทำไว้ให้คงสภาพใช้งานได้ดี และเป็นตัวแทนของตัวอย่างที่ถูกต้อง เพื่อความแม่นยำของบุคลากรในการเก็บตัวอย่าง ดูแลจุดเก็บตัวอย่าง เพื่อให้ได้ตัวอย่างที่มีคุณภาพน่าเชื่อถือและความถี่ในการเก็บตัวอย่างเพื่อให้เกิดความถูกต้องในการตรวจวัด ตรวจเช็คอุปกรณ์เครื่องมือวัดให้ใช้งานได้อย่างถูกต้อง เพื่อตรวจเช็คความเรียบร้อยของเครื่องให้มีความพร้อมก่อนการใช้งานและตรวจเช็คความแม่นยำของเครื่องวัด ให้เป็นไปตามมาตรฐานของเครื่องมือนั้นๆ จัดเตรียมตัวอย่างในการวิเคราะห์คุณภาพให้ได้ตรงตามข้อกำหนด เพื่อจัดเตรียมตัวอย่างได้ถูกต้องในการใช้งานวิเคราะห์ต่างๆ เตรียมปริมาณ/ความเข้มข้นของตัวอย่างได้ถูกต้อง วิเคราะห์คุณภาพวัตถุดิบได้ถูกต้องและแม่นยำ วิเคราะห์คุณภาพวัตถุดิบระหว่างกระบวนการผลิตน้ำตาลได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ วิเคราะห์คุณภาพวัตถุดิบระหว่างกระบวนการผลิตน้ำตาลรีไฟน์ได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
เครื่องมือการประเมินให้ดูจากคู่มือการประเมิน ซึ่งประกอบด้วย 1. สังเกตการปฏิบัติงาน 2. ข้อสอบข้อเขียน |