หน่วยสมรรถนะ
ประเมินและติดตามประสิทธิผลของการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์
สาขาวิชาชีพอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | WPS-ZZZ-6-022ZB |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ประเมินและติดตามประสิทธิผลของการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2562 |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
อาชีพนักความปลอดภัยในการทำงาน |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะต้องมีความรู้เรื่องข้อกำหนดกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม และมีความรู้เรื่องแนวทางปฏิบัติที่ดีด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สามารถกำหนดแผนการประเมินและติดตามประสิทธิผลของการบริหารจัดการอาชีวสุขศาสตร์ได้ และประเมินและติดตามประสิทธิผลของการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ได้ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
ผู้ปฏิบัติงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
1. พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 25542. ISO 45001:2018 ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
B307.1 กำหนดแผนการประเมินและติดตามประสิทธิผลของการบริหารจัดการอาชีวสุขศาสตร์ | 1. ระบุมาตรฐานในการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ได้ |
B307.1.01 | 149115 |
B307.1 กำหนดแผนการประเมินและติดตามประสิทธิผลของการบริหารจัดการอาชีวสุขศาสตร์ | 2. กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายการดำเนินงานด้านอาชีวสุขศาสตร์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการบริหารจัดการและบริบทขององค์กรได้ |
B307.1.02 | 149116 |
B307.1 กำหนดแผนการประเมินและติดตามประสิทธิผลของการบริหารจัดการอาชีวสุขศาสตร์ | 3. ระบุตัวชี้วัดในการประเมินประสิทธิผลการดำเนินงานด้านอาชีวสุขศาสตร์ได้ |
B307.1.03 | 149117 |
B307.1 กำหนดแผนการประเมินและติดตามประสิทธิผลของการบริหารจัดการอาชีวสุขศาสตร์ | 4. ระบุเกณฑ์และความถี่ในการประเมินแต่ละตัวชี้วัดที่กำหนดได้ |
B307.1.04 | 149118 |
B307.1 กำหนดแผนการประเมินและติดตามประสิทธิผลของการบริหารจัดการอาชีวสุขศาสตร์ | 5. จัดทำแผนงานในการประเมินและติดตามประสิทธิผลการดำเนินงานด้านอาชีวสุขศาสตร์ พร้อมกำหนดทีมหรือผู้รับผิดชอบ และระยะเวลาแล้วเสร็จในแต่ละขั้นตอน |
B307.1.05 | 149119 |
B307.1 กำหนดแผนการประเมินและติดตามประสิทธิผลของการบริหารจัดการอาชีวสุขศาสตร์ | 6. นำเสนอแผนการประเมินและติดตามประสิทธิผลของการบริหารจัดการอาชีวสุขศาสตร์ ต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือผู้บริหารได้ |
B307.1.06 | 149120 |
B307.2 ประเมินประสิทธิผลของการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ | 1. รวบรวมผลการดำเนินงานด้านอาชีวสุขศาสตร์ตามรอบของการประเมิน |
B307.2.01 | 149121 |
B307.2 ประเมินประสิทธิผลของการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ | 2. สัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องเพื่อทวนสอบการดำเนินงานด้านอาชีวสุขศาสตร์ได้ |
B307.2.02 | 149122 |
B307.2 ประเมินประสิทธิผลของการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ | 3. ชี้บ่งข้อมูลเชิงคุณภาพและปริมาณตามเกณฑ์ของแต่ละตัวชี้วัดการดำเนินงานด้านอาชีวสุขศาสตร์ขององค์กรได้ |
B307.2.03 | 149123 |
B307.2 ประเมินประสิทธิผลของการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ | 4. เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน กับเกณฑ์มาตรฐานในแต่ละตัวชี้วัดที่กำหนดได้ |
B307.2.04 | 149124 |
B307.2 ประเมินประสิทธิผลของการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ | 5. ชี้บ่งขั้นตอนการดำเนินงานด้านอาชีวสุขศาสตร์ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานและเป้าหมายได้ |
B307.2.05 | 149125 |
B307.2 ประเมินประสิทธิผลของการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ | 6. ระบุแนวทางการปรับปรุงการดำเนินงานด้านอาชีวสุขศาสตร์เพื่อให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ |
B307.2.06 | 149126 |
B307.2 ประเมินประสิทธิผลของการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ | 7. สรุปผลการประเมินประสิทธิผลของการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ได้ |
B307.2.07 | 149127 |
B307.3 ติดตามการประเมินประสิทธิผลการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ | 1. วางแผนการตรวจติดตามการประสิทธิผลการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ โดยกำหนดผู้รับผิดชอบและความถี่ในการประเมินได้ |
B307.3.01 | 149128 |
B307.3 ติดตามการประเมินประสิทธิผลการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ | 2. วิเคราะห์ผลการประเมินประสิทธิผลของการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ได้ |
B307.3.02 | 149129 |
B307.3 ติดตามการประเมินประสิทธิผลการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ | 3. จัดทำแนวโน้มข้อมูลผลการดำเนินงานด้านอาชีวสุขศาสตร์ขององค์กรเปรียบเทียบกับเป้าหมายได้ |
B307.3.03 | 149130 |
B307.3 ติดตามการประเมินประสิทธิผลการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ | 4. ระบุข้อเสนอแนะในการปรับปรุงขั้นตอนการดำเนินงานด้านอาชีวสุขศาสตร์ที่ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ได้อย่างสอดคล้องกับกฎหมาย ข้อกำหนดต่างๆ และบริบทขององค์กร |
B307.3.04 | 149131 |
B307.3 ติดตามการประเมินประสิทธิผลการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ | 5. จัดทำรายงานการประเมินประสิทธิผลการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ขององค์กรได้ |
B307.3.05 | 149132 |
B307.3 ติดตามการประเมินประสิทธิผลการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ | 6. นำเสนอการประเมินประสิทธิผลการบริหารจัดการด้านอาชีวสุขศาสตร์ขององค์กรได้ให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือผู้บริหารทราบได้ |
B307.3.06 | 149133 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีความรู้ด้านกฎหมาย ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสุขศาสตร์อุตสาหกรรม สิ่งแวดล้อม พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2549 ISO 45001:2018 ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. ทักษะทักษะการเลือกใช้ PPE ที่เหมาะสม (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความรู้เกี่ยวกับลำดับขั้นในการควบคุมอันตราย |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 เครื่องมือประเมินการกำหนดแผนการประเมินและติดตามประสิทธิผลของการบริหารจัดการอาชีว สุขศาสตร์ตามข้อกำหนดมาตรฐาน |