หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

สาขาวิชาชีพอาชีวอนามัยและความปลอดภัย


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ WPS-ZZZ-5-004ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2562

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพนักความปลอดภัยในการทำงาน 



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะต้องมีความรู้เรื่องข้อกำหนดกฎหมายความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม และการรวบรวมข้อมูลผลกระทบ การจัดทำแผนการเฝ้าระวังผลกระทบ ตรวจประเมินและติดตามผลกระทบ รวมไปถึงการรายงานผลการประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้ปฏิบัติงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
1.    พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 25542.    พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 3.    กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 25494.    ISO 45001:2018 ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
A302.1 รวบรวมข้อมูลผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

1. ระบุแหล่งข้อมูลของผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่จัดทำไว้ได้

A302.1.01 147565
A302.1 รวบรวมข้อมูลผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

2. รวบรวมข้อมูลของผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่จัดทำไว้ได้

A302.1.02 147566
A302.1 รวบรวมข้อมูลผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

3. จัดหมวดหมู่ข้อมูลของผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตราย ที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่จัดทำไว้ได้

A302.1.03 147567
A302.1 รวบรวมข้อมูลผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

4. ระบุรายละเอียดลักษณะข้อมูลของผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่จัดทำไว้ได้

A302.1.04 147568
A302.1 รวบรวมข้อมูลผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

5. สรุปรายการข้อมูลของผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่จัดทำไว้ได้

A302.1.05 147569
A302.1 รวบรวมข้อมูลผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

6. นำเสนอข้อมูลของผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่จัดทำไว้ได้

A302.1.06 147570
A302.2 จัดทำแผนในการเฝ้าระวังผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

1. ชี้บ่งหัวข้อที่จะทำการเฝ้าระวังผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่จัดทำไว้ได้

A302.2.01 147571
A302.2 จัดทำแผนในการเฝ้าระวังผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

2. กำหนดเกณฑ์ในการเฝ้าระวังผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่จัดทำไว้ได้

A302.2.02 147572
A302.2 จัดทำแผนในการเฝ้าระวังผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

3. กำหนดทีมหรือผู้รับผิดชอบในการเฝ้าระวังหัวข้อให้เป็นไปตามเกณฑ์ในการเฝ้าระวังผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้ได้

A302.2.03 147573
A302.2 จัดทำแผนในการเฝ้าระวังผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

4. กำหนดความถี่ในการเฝ้าระวังหัวข้อให้เป็นไปตามเกณฑ์ในการเฝ้าระวังผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้ได้

A302.2.04 147574
A302.2 จัดทำแผนในการเฝ้าระวังผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

5. กำหนดแบบฟอร์มใช้ในการเฝ้าระวังหัวข้อให้เป็นไปตามเกณฑ์ในการเฝ้าระวังผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้ได้

A302.2.05 147575
A302.3 ตรวจประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

1. จัดประชุมทีมหรือผู้รับผิดชอบเพื่อเตรียมความพร้อมในการตรวจประเมินได้

A302.3.01 147576
A302.3 ตรวจประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

2. ศึกษาแบบฟอร์มที่ใช้ในการเฝ้าระวังหัวข้อให้เป็นไปตามเกณฑ์ในการเฝ้าระวังผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

A302.3.02 147577
A302.3 ตรวจประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

3. ดำเนินการตรวจประเมินและติดตามตามแผนการเฝ้าระวังผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

A302.3.03 147578
A302.3 ตรวจประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

4. รวบรวมผลการตรวจประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

A302.3.04 147579
A302.3 ตรวจประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

5. จัดทำรายงานผลการตรวจประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

A302.3.05 147580
A302.4 รายงานผลการประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

1. ชี้บ่งข้อมูลเชิงคุณภาพและปริมาณของหัวข้อตามเกณฑ์ที่แสดงถึงการประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่จัดทำไว้ได้

A302.4.01 147581
A302.4 รายงานผลการประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

2. วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพและปริมาณของหัวข้อตามเกณฑ์ที่แสดงถึงการประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่จัดทำไว้ได้

A302.4.02 147582
A302.4 รายงานผลการประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

3. จัดทำแนวโน้มของข้อมูลเชิงคุณภาพและปริมาณของหัวข้อตามเกณฑ์ที่แสดงถึงการประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่จัดทำไว้ได้

A302.4.03 147583
A302.4 รายงานผลการประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

4. นำเสนอผลการวิเคราะห์และแนวโน้มของข้อมูลเชิงคุณภาพและปริมาณของหัวข้อตามเกณฑ์ที่แสดงถึงการประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้ได้

A302.4.04 147584
A302.4 รายงานผลการประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

5. จัดทำรายงานผลการประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้ได้

A302.4.05 147585
A302.4 รายงานผลการประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

6. พิจารณานำผลการประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้ ไปกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมายและแผนดำเนินงานด้านความปลอดภัยขององค์กรต่อไป

A302.4.06 147586
A302.4 รายงานผลการประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

7. สื่อสารผลการประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้ขององค์กรไปยังพนักงานที่เกี่ยวข้องได้

A302.4.07 147587

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีความรู้ด้านกฎหมาย ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสุขศาสตร์อุตสาหกรรม สิ่งแวดล้อม พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549 และISO 45001:2018 ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1.    ทักษะในการนำการสืบค้นหาสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ (incident investigations)

2.    ทักษะในการสัมภาษณ์ ถามคำถามผู้เห็นเหตุการณ์ (Interviewing witnesses to incidents)

3.    ทักษะในการทำความเข้าใจ (Interpreting) แผนงาน ข้อกำหนด (specifications) แบบ (drawings) และผังแสดงกระบวนการผลิต (process flow diagrams)

4.    การหาแหล่งข้อมูลเรื่องอันตราย ภัยคุกคาม (threats) และจุดอ่อน (vulnerabilities)

5.    ทักษะในการพัฒนาระบบติดตามการดำเนินงานของโครงการ (Developing systems to track project implementation)

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1.    ลักษณะของความเป็นอันตราย ภัยคุกคาม (threats) และจุดอ่อน (vulnerabilities)

2.    วิธีการการวิเคราะห์ อันตราย (Hazard analysis methods)

3.    แหล่งข้อมูลในการค้นหาอันตราย ภัยคุกคาม (threats) และจุดอ่อน (vulnerabilities) เช่นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หรือวิธีการปฏิบัติที่ดีที่สุด (best practices) บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ (published literature)

4.    ความรู้ด้านระเบียบปฏิบัติห่วงโซ่ความรับผิดชอบ (Chain of custody procedures)

5.    ความรู้ในวิธีการการวิเคราะห์ความเสี่ยงเชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ นิรนัย และอุปนัย (Qualitative, quantitative, deductive, and inductive risk assessment methods)

6.    แหล่งของข้อมูลด้านอันตราย ภัยคุกคามและจุดอ่อน (threats, and vulnerabilities) เช่น ผู้เชี่ยวชาญในสาขาที่ เฉพาะ หรือวิธีการที่ดีที่สุดในอุตสาหกรรม หรือรายงานวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ (published literature)

7.    หลักการอำนาจในการบริหารจัดการ ภาระและความรับผิดชอบ (Management principles of authority, responsibility, and accountability)

8.    แหล่งของข้อมูลด้านกฎหมาย กฎระเบียบ มาตรฐานการทำงานที่เป็นที่ยอมรับ (Sources of related to local laws, regulations, and consensus codes and standards)information


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

1. ใบรับรองการเข้ารับการฝึกอบรม

2. ใบประกาศนียบัตรวุฒิการศึกษา

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

1. ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการกำหนดวัตถุประสงค์ทางธุรกิจโดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานความรู้

(ง) วิธีการประเมิน

1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน

2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก)    คำแนะนำ 

1.    ผู้เข้ารับการประเมินสามารถอธิบายความสำคัญและเนื้อหากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยและในพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2549 ISO 45001:2018 ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยและ

2.    สามารถอธิบายความสำคัญของกฎหมายความปลอดภัยและแนวทางการปฏิบัติที่ดีด้านความปลอดภัย ด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม และด้านสิ่งแวดล้อมของต่างประเทศได้

3.    สามารถอธิบายขั้นตอนและรายละเอียดที่นายจ้างต้องปฏิบัติตามกฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ประกาศกรม ที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม ของประเทศไทยได้

4.    มีการติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการด้านกฎหมายอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม ด้านสิ่งแวดล้อม โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศอยู่เสมอ

5.    มีความรู้ความเข้าใจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายอาชีวอนามัย ความปลอดภัย สุขศาสตร์อุตสาหกรรม และสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ



คำอธิบายรายละเอียด

การประเมินความเสี่ยงเป็นข้อกำหนดที่สำคัญของมาตรฐานการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และกฎหมายด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ในสถานประกอบการหรือโรงงานอุตสาหกรรมต้องมีการประเมินความเสี่ยงอย่างถูกต้องและเหมาะสม    พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 ในมาตรา มาตรา 32 กำหนดว่า เพื่อประโยชน์ในการควบคุม กำกับ ดูแลการดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ให้นายจ้างดำเนินการดังต่อไปนี้ 

1) จัดให้มีการประเมินอันตราย

2) ศึกษาผลกระทบของสภาพแวดล้อมในการทำงานที่มีผลต่อลูกจ้าง

3) จัดทำแผนการดำเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานและจัดทำแผนการควบคุมดูแลลูกจ้างและสถานประกอบกิจการ

4) ส่งผลการประเมินอันตราย การศึกษาผลกระทบ แผนการดำเนินงานและแผนการควบคุมตาม (1) (2) และ (3) ให้อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย 

วิธีการ และเงื่อนไขในการดำเนินการตามวรรคหนึ่ง ประเภทกิจการ ขนาดของกิจการที่ต้องดำเนินการ และระยะเวลาที่ต้องดำเนินการ ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ในการดำเนินการตามวรรคหนึ่ง นายจ้างจะต้องปฏิบัติตามคำแนะนำและได้รับการรับรองผลจากผู้ชำนาญการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ข้อบังคับคณะกรรมการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ว่าด้วย มาตรฐานการจัดการความปลอดภัยกระบวนการผลิตและการตรวจประเมินความปลอดภัยกระบวนการผลิต ในนิคมอุตสาหกรรม พ.ศ. 2559” กำหนดในข้อ 29/12 ให้ผู้ประกอบอุตสาหกรรมต้องจัดทำการวิเคราะห์อันตรายกระบวนการผลิตทั้งหมด วิธีการวิเคราะห์อันตรายกระบวนการผลิตให้เป็นระบบและเหมาะสมต่อความซับซ้อนของกระบวนการผลิต โดยสามารถชี้บ่ง ประเมิน และควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต ครอบคลุมถึงการจัดเก็บ การใช้ การผลิต และการขนส่งหรือเคลื่อนย้ายสารเคมีอันตรายร้ายแรงได้

เทคนิคที่ใช้ การใช้โปรแกรม วิเคราะห์ข้อมูล

1.    What-if 

2.    Checklist 

3.    What-if/Checklist

4.    Hazard and Operability Study (HAZOP) 

5.    Failure Mode and Effects Analysis (FMEA) 

6.    Fault Tree Analysis 

7.    วิธีอื่นที่เทียบเท่าหรือดีกว่าตามความเหมาะสม


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1  เครื่องมือประเมินการรวบรวมข้อมูลผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

    1 ผลข้อสอบข้อเขียน

   2. ผลข้อสอบสัมภาษณ์

18.2  เครื่องมือประเมินการจัดทำแผนในการเฝ้าระวังผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

    1 ผลข้อสอบข้อเขียน

   2. ผลข้อสอบสัมภาษณ์

18.3 เครื่องมือประเมินการตรวจประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

    1 ผลข้อสอบข้อเขียน

    2. ผลข้อสอบสัมภาษณ์

18.4 เครื่องมือประเมินการรายงานผลการประเมินและติดตามผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงและอันตรายที่ระบุถึงในทะเบียนปัจจัยเสี่ยงและอันตรายที่ได้จัดทำไว้

    1 ผลข้อสอบข้อเขียน

    2. ผลข้อสอบสัมภาษณ์



ยินดีต้อนรับ