หน่วยสมรรถนะ
จัดการเพิ่มมูลค่าของสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม
สาขาวิชาชีพอนุรักษ์งานศิลปหัตถกรรมและงานพื้นบ้าน
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | CRA-HPX-6-111ZA |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | จัดการเพิ่มมูลค่าของสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / - |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
ผู้ผลิตผ้าทอเทคนิคเกาะ/ล้วง |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
บุคคลที่ทำหน้าที่ผู้ผลิตผ้าทอซึ่งจะต้องปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดการเพิ่มมูลค่าของสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
กลุ่มอาชีพ อนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
01671 วางแผนการเพิ่มมูลค่าของสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม | 1. ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจนำไปใช้วางแผนการเพิ่มมูลค่าของสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมอย่างถูกต้อง | 01671.01 | 139898 |
01671 วางแผนการเพิ่มมูลค่าของสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม | 2. การติดตามและประเมิน ดำเนินการตามแผนงานอย่างมีประสิทธิภาพ | 01671.02 | 139899 |
01672 กำหนดมูลค่าของสินค้าเพื่อการจำหน่าย | 1. ราคาสินค้ามีการสำรวจตลาดที่จัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ อย่างมีประสิทธิภาพ | 01672.01 | 139900 |
01672 กำหนดมูลค่าของสินค้าเพื่อการจำหน่าย | 2. ผลิตภัณฑ์ ได้กำหนดมูลค่าของสินค้าเพื่อการจำหน่ายได้อย่างถูกต้องตามหลักการกำหนดราคา | 01672.02 | 139901 |
01673 จัดจำหน่ายสินค้าตามความต้องการของลูกค้า | 1. ช่องทางการจำหน่ายมีการเลือกอย่างถูกต้อง | 01673.01 | 139902 |
01673 จัดจำหน่ายสินค้าตามความต้องการของลูกค้า | 2. ผลการสำรวจความต้องการของลูกค้า จัดทำได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน | 01673.02 | 139903 |
01673 จัดจำหน่ายสินค้าตามความต้องการของลูกค้า | 3. สินค้าจัดจำหน่ายตามความต้องการของลูกค้าได้อย่างถูกต้อง | 01673.03 | 139904 |
01673 จัดจำหน่ายสินค้าตามความต้องการของลูกค้า | 4. สินค้าที่จัดจำหน่ายมีการส่งเสริมการอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมได้อย่างถูกต้อง | 01673.04 | 139905 |
01674 บรรจุผลิตภัณฑ์สินค้าเพื่อการจัดเก็บและส่งมอบผลิตภัณฑ์ | 1. คุณสมบัติของสินค้าและวัสดุที่ใช้ในการบรรจุภัณฑ์จำแนกประเภทได้อย่างถูกต้อง | 01674.01 | 139906 |
01674 บรรจุผลิตภัณฑ์สินค้าเพื่อการจัดเก็บและส่งมอบผลิตภัณฑ์ | 2. ผลิตภัณฑ์สินค้าเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ให้ถูกต้องตรงกับชนิดของสินค้า | 01674.02 | 139907 |
01674 บรรจุผลิตภัณฑ์สินค้าเพื่อการจัดเก็บและส่งมอบผลิตภัณฑ์ | 3. ผลิตภัณฑ์สินค้าที่บรรจุเพื่อการจัดเก็บและส่งมอบมีตรวจสอบสินค้าอย่างถูกต้อง | 01674.03 | 139908 |
01674 บรรจุผลิตภัณฑ์สินค้าเพื่อการจัดเก็บและส่งมอบผลิตภัณฑ์ | 4. ผลิตภัณฑ์มีการออกแบบการบรรจุภัณฑ์ให้ถูกต้องตรงตามประเภทการขนส่งและจัดเก็บได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 01674.04 | 139909 |
01675 บริหารต้นทุนเพื่อการผลิตสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม | 1. การผลิตสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมมีการคำนวณต้นทุนอย่างถูกต้อง | 01675.01 | 139910 |
01675 บริหารต้นทุนเพื่อการผลิตสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม | 2. ต้นทุนเพื่อการผลิตสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมมีการควบคุมต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ | 01675.02 | 139911 |
01675 บริหารต้นทุนเพื่อการผลิตสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม | 3. ต้นทุนเพื่อการผลิตสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมมีการประเมินเพื่อใช้ในการตัดสินใจอย่างถูกต้อง | 01675.03 | 139912 |
01675 บริหารต้นทุนเพื่อการผลิตสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม | 4. สินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมมีการบริหารการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ | 01675.04 | 139913 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ (ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. ปฏิบัติการวางแผนการเพิ่มมูลค่าของสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม 2. ปฏิบัติการกำหนดมูลค่าของสินค้าเพื่อการจำหน่าย 3. ปฏิบัติการจัดจำหน่ายสินค้าตามความต้องการของลูกค้า 4. ปฏิบัติการบรรจุผลิตภัณฑ์สินค้าเพื่อการจัดเก็บและส่งมอบผลิตภัณฑ์ 5. ปฏิบัติการบริหารต้นทุนเพื่อการผลิตสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม (ข) ความต้องการด้านความรู้ (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. การวางแผนการตลาด 2. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 3. เทคนิคการเพิ่มมูลสินค้า 4. หลักการตลาด 5. การบรรจุภัณฑ์สินค้า 6. การวิจัยการตลาดเบื้องต้น 7. การจัดการผลิตสินค้า 8. การบริหารต้นทุน 9. การบริหารความเสี่ยง 10. ข้อมูลสินค้าเกี่ยวกับการอนุรักษ์ |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. รายงานผลการวางแผนการเพิ่มมูลค่าของสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม 2. รายงานผลการกำหนดมูลค่าของสินค้าเพื่อการจำหน่าย 3. รายงานการจัดจำหน่ายสินค้าตามความต้องการของลูกค้า 4. รายงานการจัดการบรรจุผลิตภัณฑ์สินค้าเพื่อการจัดเก็บและส่งมอบผลิตภัณฑ์ 5. รายงานการบริหารต้นทุนเพื่อการผลิตสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. ใบผ่านการอบรมที่เกี่ยวกับการจัดการเพิ่มมูลค่าของสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม 2. แฟ้มสะสมผลงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเพิ่มมูลค่าของสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม 3. เอกสารการนำเสนองานหรือการบรรยายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเพิ่มมูลค่าของสินค้าในงาน พื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม (ค) คำแนะนำในการประเมิน ประเมินเกี่ยวกับการจัดการเพิ่มมูลค่าของสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมผ้าทอเทคนิคเกาะ/ล้วง (ง) วิธีการประเมิน 1. พิจารณาหลักฐานความรู้ 2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน
|
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง (ก) คำแนะนำ 1. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องวางแผนการเพิ่มมูลค่าของสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม 2. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องกำหนดมูลค่าของสินค้าเพื่อการจำหน่าย 3. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องจัดจำหน่ายสินค้าตามความต้องการของลูกค้า 4. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องจัดการบรรจุผลิตภัณฑ์สินค้าเพื่อการจัดเก็บและส่งมอบผลิตภัณฑ์ 5. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องบริหารต้นทุนเพื่อการผลิตสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม (ข) คำอธิบายรายละเอียด 1.การวางแผนการเพิ่มมูลค่าของสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมโดยวิเคราะห์ตามหลักทฤษฎีการเพิ่มมูลสินค้าได้อย่างถูกต้อง 2. การกำหนดมูลค่าของสินค้าเพื่อการจำหน่ายโดยกำหนดราคากลางของสินค้าได้อย่างยุติธรรม 3. การจัดจำหน่ายสินค้าตามความต้องการของลูกค้า โดยการขายส่ง และขายปลีกสินค้าตามรายการความต้องการของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. การจัดการบรรจุผลิตภัณฑ์สินค้าเพื่อการจัดเก็บและส่งมอบผลิตภัณฑ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. การบริหารต้นทุนเพื่อการผลิตสินค้าในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
1. เครื่องมือการประเมิน 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน 3. รายงานผลการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน 2. เครื่องมือการประเมิน 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน 3. รายงานผลการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน 3. เครื่องมือการประเมิน 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน 3. รายงานผลการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน 4. เครื่องมือการประเมิน 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน 3. รายงานผลการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน 5. เครื่องมือการประเมิน 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน 3. รายงานผลการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน |