หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ซ่อมชุดเบรกไอเสียเครื่องยนต์รถบรรทุกและรถบัส

สาขาวิชาชีพบริการยานยนต์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ ASV-BUS-3-018ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ซ่อมชุดเบรกไอเสียเครื่องยนต์รถบรรทุกและรถบัส

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

    ช่างซ่อมเครื่องยนต์



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
    ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะสามารถปฏิบัติงาน ซ่อมเครื่องยนต์พร้อมตรวจสอบและปรับแต่งได้ตามคู่มือซ่อม

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
    บริการยานยนต์

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
    N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
    N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
80131 ถอด/ประกอบชุดรีทาเดอร์ได้ตามคู่มือซ่อม 1.1 ถอด/ประกอบ ชุดซ่อมได้ตามคู่มือซ่อม 80131.01 67205
80131 ถอด/ประกอบชุดรีทาเดอร์ได้ตามคู่มือซ่อม 1.2 ปรับระยะการทำงานชุดรีทาดเดอร์ได้ตามคู่มือซ่อม 80131.02 67206
80131 ถอด/ประกอบชุดรีทาเดอร์ได้ตามคู่มือซ่อม 1.3 ตรวจสอบการทำงานของชุดรีทาดเดอร์ได้ตามคู่มือซ่อม 80131.03 67207
80131 ถอด/ประกอบชุดรีทาเดอร์ได้ตามคู่มือซ่อม 1.4 ปฏิบัติตามคู่มือซ่อมด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมได้ 80131.04 67208
80132 ถอด/ประกอบวาล์วเปิดปิดไอเสียได้ตามคู่มือซ่อม 2.1 ถอด/ประกอบชุดวาล์วเปิดปิดไอเสียได้ตามคู่มือซ่อม 80132.01 67209
80132 ถอด/ประกอบวาล์วเปิดปิดไอเสียได้ตามคู่มือซ่อม 2.2 ปรับตั้งระยะเปิดปิดได้ตามคู่มือซ่อม 80132.02 67210
80132 ถอด/ประกอบวาล์วเปิดปิดไอเสียได้ตามคู่มือซ่อม 2.3 ตรวจสอบการทำงานของวาล์วเปิดปิดได้ตามคู่มือซ่อม 80132.03 67211
80132 ถอด/ประกอบวาล์วเปิดปิดไอเสียได้ตามคู่มือซ่อม 2.4 ปฏิบัติตามคู่มือซ่อมด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมได้ 80132.04 67212

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

    คุณวุฒิวิชาชีพอาชีพช่างซ่อมเครื่องยนต์ ระดับ 2


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

    ถอด/ประกอบ ปรับระยะการทำงานชุดรีทาดเดอร์ พร้อมตรวจสอบการทำงานและใช้เครื่องมือในการตรวจวัดปรับแต่ง

(ข) ความต้องการด้านความรู้

    ความรู้เรื่องการทำงานของชุดเบรกไอเสียและเครื่องมือวัดระยะ การปรับแต่ง


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

    (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

        1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ หรือ

        2. แบบบันทึกรายการจากการสังเกตหรือ

        3. แฟ้มสะสมผลการปฏิบัติงาน หรือ ภาพถ่ายผลการปฏิบัติงาน

    (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

        1. ใบรับรองการทำงานจากสถานประกอบการ หรือ

        2. ใบรับรองหรือหลักฐานการผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้องกับงานซ่อมเครื่องยนต์ หรือ

        3. แบบบันทึกประกอบการสัมภาษณ์

        4. แฟ้มสะสมผลการปฏิบัติงาน

    (ค) คำแนะนำในการประเมิน

        N/A

    (ง) วิธีการประเมิน

        1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน

        2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้

        3. การสอบข้อเขียน


15. ขอบเขต (Range Statement)

    ถอด/ประกอบ ปรับระยะการทำงานชุดรีทาดเดอร์ พร้อมตรวจสอบการทำงานและใช้เครื่องมือในการตรวจวัดปรับแต่งในเครื่องยนต์รถบรรทุกและรถบัส

    (ก) คำแนะนำ

        ปรับแต่งให้ได้ทั้งสามระยะ รอบเดินเบา รอบกลาง รอบสูง

    (ข) คำอธิบายรายละเอียด

        การปรับตั้งระยะเปิดปิดของเบรคไอเสีย


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
    N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
    N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

    18.1 เครื่องมือประเมิน ถอด/ปรับ/เปลี่ยนซ่อมชุดเบรกไอเสียเครื่องยนต์รถบรรทุกและรถบัสตามคู่มือซ่อม

        1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน วิธีการประกอบ การตรวจสอบ

        2) แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผลลัพธ์ของการปฏิบัติงาน และปัญหาที่พบในการทำงาน

        3) การสอบข้อเขียน เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจ หลักการ ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน และผลที่เกิดจากการปฏิบัติ พร้อม ปัญหาและแนวทางแก้ไข

        ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน

    18.2 เครื่องมือประเมิน ทดสอบซ่อมชุดเบรกไอเสียเครื่องยนต์รถบรรทุกและรถบัสตามคู่มือซ่อม

        1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน วิธีการประกอบ การตรวจสอบ

        2) แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผลลัพธ์ของการปฏิบัติงาน และปัญหาที่พบในการทำงาน

        3) การสอบข้อเขียน เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจ หลักการ ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน และผลที่เกิดจากการปฏิบัติ พร้อม ปัญหาและแนวทางแก้ไข

        ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน



ยินดีต้อนรับ