หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

พัฒนากระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture อย่างต่อเนื่องเพื่อความยั่งยืน

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ MLD-FIX-5-004ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ พัฒนากระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture อย่างต่อเนื่องเพื่อความยั่งยืน

3. ทบทวนครั้งที่ N/A / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)
N/A

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
          ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้สามารถพัฒนากระบวนการในการปรับประกอบ  Checking Fixture  ที่ครอบคลุมเกี่ยวกับรายละเอียดระหว่างขั้นตอนต่างๆ โดยอาศัยข้อมูลจากที่เคยได้ดำเนินการทั้งหมด แล้วนำมาใช้ในการทำการปรับประกอบครั้งต่อๆ ไปที่จะจัดทำขึ้น เป้าหมายเพื่อการลดต้นทุน เพิ่มคุณภาพ และความน่าเชื่อถือ ด้วยเทคนิควิธีการใหม่ๆ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
113CF04.1 เตรียมองค์ประกอบของการพัฒนากระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture 1.1 ศึกษาข้อมูล และแบบ Checking Fixture 113CF04.1.01 81999
113CF04.1 เตรียมองค์ประกอบของการพัฒนากระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture 1.2 ศึกษาวิธีการปรับประกอบ Checking Fixture และการใช้วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ 113CF04.1.02 82000
113CF04.1 เตรียมองค์ประกอบของการพัฒนากระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture 1.3 ศึกษาปัญหาในกระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture ที่มีผลต่อ QCD 113CF04.1.03 82001
113CF04.2 วางแผนการพัฒนากระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture 1.1 ศึกษาข้อมูล และแบบ Checking Fixture 113CF04.2.01 82002
113CF04.2 วางแผนการพัฒนากระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture 1.2 ศึกษาวิธีการปรับประกอบ Checking Fixture และการใช้วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ 113CF04.2.02 82003
113CF04.2 วางแผนการพัฒนากระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture 1.3 ศึกษาปัญหาในกระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture ที่มีผลต่อ QCD 113CF04.2.03 82004
113CF04.3 ปฏิบัติการพัฒนากระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture 3.1 ดำเนินการพัฒนาตามหัวข้อและเป้าหมายที่กำหนด 113CF04.3.01 82005
113CF04.3 ปฏิบัติการพัฒนากระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture 3.2 ติดตามรวบรวมข้อมูลจากการพัฒนา 113CF04.3.02 82006
113CF04.4 สรุปประเมินผลการพัฒนากระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture 4.1 วิเคราะห์ผลการพัฒนา 113CF04.4.01 82007
113CF04.4 สรุปประเมินผลการพัฒนากระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture 4.2 สรุปผลการพัฒนาและทำเป็นมาตรฐานรวมทั้งการรวบรวมไว้เป็นฐานข้อมูลในการปรับประกอบต่อๆ ไป 113CF04.4.02 82008

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

คุณวุฒิวิชาชีพ อาชีพช่างปรับประกอบ Checking Fixture ชั้น 4


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. การพัฒนาปรับปรุงในขั้นตอนการปรับประกอบ Checking Fixture  

2. การรายงานผลการพัฒนากระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. องค์ประกอบต่างๆ ในกระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture  

2. วิธีการจัดทำแผนการพัฒนา

3. วิธีการวิเคราะห์ และการสรุปผล

4. วิธีการจัดทำเป็นมาตรฐานในการทำงาน


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

          1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ

          2. ผลงานประกอบการประเมิน หรือ

          3. แบบบันทึกรายการผลจากการสังเกตการปฏิบัติงาน

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

          1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ

          2. แฟ้มสะสมผลงานเชิงวิชาชีพ (Professional Portfolios) หรือ

          3. แบบบันทึกผลการสัมภาษณ์

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

          ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการพัฒนา วางแผน และควบคุมกระบวนการปรับประกอบ  Checking Fixture  โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้

(ง) วิธีการประเมิน

          1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน

          2. พิจารณาจากหลักฐานความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

          พัฒนากระบวนการปรับประกอบ  Checking Fixture  โดยอาศัยข้อมูลจากที่เคยได้ดำเนินการทั้งหมด นำไปประยุกต์ใช้ในการปรับประกอบในครั้งต่อๆ ไป เพื่อลดต้นทุน เพิ่มคุณภาพ และความน่าเชื่อถือ

(ก) คำแนะนำ

          1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีความเข้าใจในรายละเอียดเกี่ยวกับชนิด/ประเภทของ Checking Fixture  

          2. ผู้เข้ารับประเมินต้องเข้าใจในข้อกำหนดต่างๆ ที่จะยึดถือเป็นกรอบในการปรับประกอบ  Checking Fixture แต่ละรายการ

          3. ผู้เข้ารับการประเมินต้องสามารถทำการปรับประกอบ Checking Fixture  ได้ และมีประสบการณ์มากถึงขั้นที่จะทำการประเมินการปฏิบัติงานของช่างปรับประกอบ  Checking Fixture  ได้

          4. ผู้เข้ารับประเมินต้องสามารถสรุปรายงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานได้

          5. ผู้เข้ารับประเมินต้องมีคุณสมบัติของการเป็นนักพัฒนาที่ดี

(ข) คำอธิบายรายละเอียด



          N/A


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือประเมินการเตรียมองค์ประกอบของการพัฒนากระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture  

          1. แบบฟอร์มแนวคำถามของข้อสอบข้อเขียนที่ใช้ในการประเมิน

          2. แบบฟอร์มแนวคำถามของประเด็นที่ใช้ในการสัมภาษณ์

          3. แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์ของผู้ขอรับการประเมิน

          4. แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงานของผู้ขอรับการประเมิน

ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

18.2 เครื่องมือประเมินการวางแผนการพัฒนากระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture  

          1. แบบฟอร์มแนวคำถามของข้อสอบข้อเขียนที่ใช้ในการประเมิน

          2. แบบฟอร์มแนวคำถามของประเด็นที่ใช้ในการสัมภาษณ์

          3. แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์ของผู้ขอรับการประเมิน

          4. แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงานของผู้ขอรับการประเมิน

ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

18.3 เครื่องมือประเมินการปฏิบัติการพัฒนากระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture  

          1. แบบฟอร์มแนวคำถามของข้อสอบข้อเขียนที่ใช้ในการประเมิน

          2. แบบฟอร์มแนวคำถามของประเด็นที่ใช้ในการสัมภาษณ์

          3. แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์ของผู้ขอรับการประเมิน

          4. แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงานของผู้ขอรับการประเมิน

ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

18.4 เครื่องมือประเมินการสรุปประเมินผลการพัฒนากระบวนการปรับประกอบ Checking Fixture  

          1. แบบฟอร์มแนวคำถามของข้อสอบข้อเขียนที่ใช้ในการประเมิน

          2. แบบฟอร์มแนวคำถามของประเด็นที่ใช้ในการสัมภาษณ์

          3. แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์ของผู้ขอรับการประเมิน

          4. แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงานของผู้ขอรับการประเมิน

ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



ยินดีต้อนรับ