หน่วยสมรรถนะ
ผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องกลึง
สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | MLD-MPT-2-023ZB |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องกลึง |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / N/A |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
อาชีพช่างผลิตชิ้นส่วนแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ หรือ อาชีพช่างผลิตชิ้นส่วนแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก7222 ช่างทำเครื่องมือและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 7222.10 ช่างทำเครื่องมือทั่วไป 7222.60 ช่างทำแม่พิมพ์ 7223 ช่างปรับตั้งและใช้เครื่องมือกล 8211 ผู้ควบคุมเครื่องจักรและอุปกรณ์แปรรูปโลหะต่างๆ |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะด้านการผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องกลึง โดยจะต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในการทำงาน มีการกำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงาน สามารถเลือกใช้เครื่องมือตัด การปรับตั้งค่าเงื่อนไขในการทำงาน การจับยึดชิ้นงาน ให้เหมาะสม รวมถึงสามารถตรวจสอบความถูกต้องของขนาดชิ้นส่วน ดูแลรักษาและตรวจสอบเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
102C05.1 ความปลอดภัยในการทำงาน | 1.1 ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยในการทำงานและสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล | 102C05.1.01 | 139099 |
102C05.1 ความปลอดภัยในการทำงาน | 1.2 ตรวจสอบระบบการทำงานของเครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนและหลังปฏิบัติงาน | 102C05.1.02 | 139100 |
102C05.2 กำหนดขั้นตอนในการทำงานกลึง | 2.1 ศึกษารายละเอียดจากแบบงาน | 102C05.2.01 | 139101 |
102C05.2 กำหนดขั้นตอนในการทำงานกลึง | 2.2 กำหนดขั้นตอนและเลือกเครื่องมือตัดในการกลึง | 102C05.2.02 | 139102 |
102C05.2 กำหนดขั้นตอนในการทำงานกลึง | 2.3 การกำหนดเงื่อนไขในการทำงานที่เหมาะสม | 102C05.2.03 | 139103 |
102C05.3 การปฏิบัติงานกับเครื่องกลึง | 3.1 ตรวจสอบเครื่องกลึงและอุปกรณ์ | 102C05.3.01 | 139104 |
102C05.3 การปฏิบัติงานกับเครื่องกลึง | 3.2 จับยึดชิ้นงานและเครื่องเครื่องมือตัด | 102C05.3.02 | 139105 |
102C05.3 การปฏิบัติงานกับเครื่องกลึง | 3.3 ปรับตั้งศูนย์ชิ้นงานและเครื่องมือตัด | 102C05.3.03 | 139106 |
102C05.3 การปฏิบัติงานกับเครื่องกลึง | 3.4 ปฏิบัติงานกลึง | 102C05.3.04 | 139107 |
102C05.4 การตรวจสอบ | 4.1 ตรวจสอบความถูกต้อง ขนาดของชิ้นส่วน และแก้ไขให้ตรงตามข้อกำหนด | 102C05.4.01 | 139108 |
102C05.5 การบำรุงรักษาเครื่องกลึงและอุปกรณ์ | 5.1 ตรวจสอบบำรุงรักษาเบื้องต้น | 102C05.5.01 | 139109 |
102C05.5 การบำรุงรักษาเครื่องกลึงและอุปกรณ์ | 5.2 ดูแลทำความสะอาดเครื่องกลึงและอุปกรณ์ | 102C05.5.02 | 139110 |
102C05.5 การบำรุงรักษาเครื่องกลึงและอุปกรณ์ | 5.3 ตรวจสอบความพร้อมของเครื่องกลึงและอุปกรณ์ทั้งก่อนและหลังปฏิบัติงาน | 102C05.5.03 | 139111 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความรู้ด้านการอ่านแบบเครื่องกล |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดเป็นข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
เจ้าหน้าที่สอบประเมินสมรรถนะของผู้เข้ารับการประเมินด้วยเครื่องมือประเมินความรู้และทักษะ ให้ครอบคลุมเกณฑ์การปฏิบัติงาน ทักษะและความรู้ที่ต้องการของหน่วยสมรรถนะ ได้แก่ |