หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ปั๊มโลหะด้วยเครื่องจักรกล

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ MLD-DMT-3-029ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ปั๊มโลหะด้วยเครื่องจักรกล

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / N/A

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพช่างผลิตชิ้นส่วนแม่พิมพ์โลหะ7222 ช่างทำเครื่องมือและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง3119.20 ช่างเทคนิควิศวกรรมควบคุม 3119.40 ช่างเทคนิควิศวกรรมการผลิต3118.30 ช่างเขียนแบบเครื่องกล 



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้ จะมีทักษะในการเตรียมและกำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์โลหะด้วยเครื่องมือกล สามารถระบุประเภทของเครื่องมือกล และเครื่องมือที่ใช้

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
102M02.1 เตรียมการกำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ปั้มโลหะด้วยเครื่องจักรกล 1.1เตรียมแบบงาน 165371
102M02.1 เตรียมการกำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ปั้มโลหะด้วยเครื่องจักรกล 1.2อ่านแบบงาน 165372
102M02.2 กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ปั้มโลหะด้วยเครื่องจักรกล 2.1 กำหนดขั้นตอนการทำงาน 165373
102M02.2 กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ปั้มโลหะด้วยเครื่องจักรกล 2.2 ระบุประเภทเครื่องจักรกลและเครื่องมือกล 165374
102M02.2 กำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์ปั้มโลหะด้วยเครื่องจักรกล 2.3 ระบุประเภทอุปกรณ์จับยึด 165375

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1.    สามารถอ่านแบบและเตรียมขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์โลหะจากแบบงาน

2.    สามารถเขียนขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์โลหะด้วยเครื่องมือกล

3.    สามารถระบุประเภทของเครื่องมือกลและอุปกรณ์จับยึดชิ้นงาน

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1.    ความรู้เกี่ยวกับการอ่านแบบวิศวกรรม

2.    ความรู้การอ่านแบบงานสำหรับการเตรียมแบบงาน

3.    ความรู้เกี่ยวกับเหน้าที่ การทำงานครื่องมือกลและเครื่องมือที่ใช้ เช่น อุปกรณ์จับยึด เป็นต้น

4.    ความรู้เกี่ยวกับกรรมวิธีการผลิตชิ้นส่วนแม่พิมพ์โลหะ


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดเป็นข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria)  และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก)    หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

1.    แสดงการเตรียมขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์โลหะจากแบบงาน

2.    แสดงการเขียนขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์โลหะด้วยเครื่องมือกล

3.    แสดงการระบุประเภทของเครื่องมือกลและอุปกรณ์จับยึดชิ้นงาน

4.    ใบรับรองผลจากแบบประเมินผลการสาธิตการปฏิบัติงาน

(ข)    หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

1.    ระบุหรืออธิบายการเตรียมงานจากการอ่านแบบงาน

2.    ระบุประเภทเครื่องมือกลและเครื่องมือที่ใช้ เช่น อุปกรณ์จับยึด เป็นต้น

3.    ระบุขั้นตอนการผลิตชิ้นส่วนแม่พิมพ์โลหะ

4.    ใบรับรองผลจากการประเมินความรู้จากแบบทดสอบข้อเขียนและสัมภาษณ์

(ค)    คำแนะนำในการประเมิน

ผู้ประเมินตรวจประเมินความต้องการหลักฐาน โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง การทั้งหลักฐานด้านการปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้

(ง)    วิธีการประเมิน    

1.    แบบทดสอบข้อเขียน

2.    แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์

3.    แบบทดสอบการสาธิตปฏิบัติงาน


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก)    คำแนะนำ

1.    ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสำคัญเกี่ยวกับข้อกำหนด และมาตรฐานการผลิต

2.    ผู้เข้ารับการประเมินสามารถสามารถเตรียมและกำหนดขั้นตอนการทำชิ้นส่วนแม่พิมพ์โลหะด้วยเครื่องจักรกล

3.    ผู้เข้ารับการประเมินสามารถอ่านแบบและเขียนแบบสั่งงานด้วยมาตรฐานที่ใช้ในการมองภาพฉายระบบ ISO Method - E และ ISO Method – A

4.    ผู้เข้ารับการประเมินเลือกใช้วัสดุทำพิมพ์ตามมาตรฐาน JIS, AISI, DIN, มอก. หรือมาตรฐานฐานที่เทียบเท่า

5.    เลือกใช้ชิ้นส่วนมาตรฐานที่มีจำหน่ายทั่วไปในประเทศ

6.    ตรวจสอบขนาดและค่า GD&T ตามแบบสั่งงาน และสัญลักษณ์มาตรฐาน ASME Y14.5 M : 2018

(ข)    คำอธิบายรายละเอียด

1.    เครื่องมือกล ในสมรรถนะนี้หมายถึง เครื่องมือกลที่ใช้ในการผลิตชิ้นส่วนแม่พิมพ์ ซึ่งรวมทั้งระบบ manual และ CNC


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

เจ้าหน้าที่สอบประเมินสมรรถนะของผู้เข้ารับการประเมินด้วยเครื่องมือประเมินความรู้และทักษะ ให้ครอบคลุมเกณฑ์การปฏิบัติงาน ทักษะและความรู้ที่ต้องการของหน่วยสมรรถนะ ได้แก่

1.    แบบทดสอบข้อเขียน

2.    แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์

3.    แบบทดสอบการสาธิตปฏิบัติงาน หรือ

4.    แบบฟอร์มบันทึกการสังเกตการปฏิบัติงาน



ยินดีต้อนรับ