หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

จัดการงานวิจัยระบบเพื่อพัฒนาการปฏิบัติการของสถานศึกษา

สาขาวิชาชีพบริการการศึกษา วิจัย และภาษา


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ ILS-ZZZ-6-051ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ จัดการงานวิจัยระบบเพื่อพัฒนาการปฏิบัติการของสถานศึกษา

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)


ISCO    1345 ผู้จัดการด้านการศึกษา


1 1345 ผู้จัดการด้านการศึกษา

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะสามารถกำหนดนโยบาย เป้าหมายและแผนงานด้านงานวิจัยในชั้นเรียน จัดทำโครงการวิจัยในชั้นเรียนตามนโยบายและแผนงานที่กำหนด ดำเนินโครงการและกิจกรรมงานวิจัยในชั้นเรียนตามโครงการที่กำหนด ประเมินผลโครงการงานวิจัยในชั้นเรียนตามโครงการที่กำหนดจัดทำรายงานสรุปผลการประเมินผลโครงการงานวิจัยในชั้นเรียน กำหนดนโยบาย เป้าหมายและแผนงานด้านงานวิจัยสถานศึกษาจัดทำโครงการงานวิจัยสถานศึกษาตามนโยบายและแผนงานที่กำหนด ดำเนินโครงการและกิจกรรมงานวิจัยสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนด ประเมินผลโครงการงานวิจัยสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนด จัดทำรายงานสรุปผลการประเมินผลโครงการงานวิจัยสถานศึกษา กำหนดนโยบายและแผนงานส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษา จัดทำโครงการส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษาตามนโยบายและแผนงานที่กำหนด ดำเนินโครงการและกิจกรรมส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนด ประเมินผลโครงการส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนด และจัดทำรายงานสรุปผลการประเมินผลโครงการส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษา

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
สาขาวิชาชีพบริการการศึกษา อาชีพผู้บริหารสถานศึกษา

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๒แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ระเบียบว่าด้วยอำนาจหน้าที่ของผู้บริหารโรงเรียนเอกชน นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ ๑๑พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
20103.01 จัดการงานวิจัยในชั้นเรียน 1. กำหนดนโยบาย เป้าหมายและแผนงานด้านงานวิจัยในชั้นเรียน 20103.01.01 137580
20103.01 จัดการงานวิจัยในชั้นเรียน 2. จัดทำโครงการวิจัยในชั้นเรียน ตามนโยบายและแผนงานที่กำหนด 20103.01.02 137581
20103.01 จัดการงานวิจัยในชั้นเรียน 3. ดำเนินโครงการและกิจกรรมงานวิจัยในชั้นเรียนตามโครงการที่กำหนด 20103.01.03 137582
20103.01 จัดการงานวิจัยในชั้นเรียน 4. ประเมินผลโครงการงานวิจัยในชั้นเรียนตามโครงการที่กำหนด 20103.01.04 137583
20103.01 จัดการงานวิจัยในชั้นเรียน 5. จัดทำรายงานสรุปผลการประเมินผลโครงการงานวิจัยในชั้นเรียน 20103.01.05 137584
20103.02 จัดการงานวิจัยสถานศึกษา(วิจัยสถาบัน) 1. กำหนดนโยบาย เป้าหมายและแผนงานด้านงานวิจัยสถานศึกษา 20103.02.01 137585
20103.02 จัดการงานวิจัยสถานศึกษา(วิจัยสถาบัน) 2. จัดทำโครงการงานวิจัยสถานศึกษาตามนโยบายและแผนงานที่กำหนด 20103.02.02 137586
20103.02 จัดการงานวิจัยสถานศึกษา(วิจัยสถาบัน) 3. ดำเนินโครงการและกิจกรรมงานวิจัยสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนด 20103.02.03 137587
20103.02 จัดการงานวิจัยสถานศึกษา(วิจัยสถาบัน) 4. ประเมินผลโครงการงานวิจัยสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนด 20103.02.04 137588
20103.02 จัดการงานวิจัยสถานศึกษา(วิจัยสถาบัน) 5. จัดทำรายงานสรุปผลการประเมินผลโครงการงานวิจัยสถานศึกษา 20103.02.05 137589
20103.03 ส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษา 1. กำหนดนโยบายและแผนงานส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษา 20103.03.01 137590
20103.03 ส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษา 2. จัดทำโครงการส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษาตามนโยบายและแผนงานที่กำหนด 20103.03.02 137591
20103.03 ส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษา 3. ดำเนินโครงการและกิจกรรมส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนด 20103.03.03 137592
20103.03 ส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษา 4. ประเมินผลโครงการส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนด 20103.03.04 137593
20103.03 ส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษา 5. จัดทำรายงานสรุปผลการประเมินผลโครงการส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษา 20103.03.05 137594

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ


  1. ทักษะการคิดวิเคราะห์

  2. ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ

  3. ทักษะการติดตาม และประเมินผลการเปลี่ยนแปลง

  4. ทักษะการแก้ปัญหาและตัดสินใจ

  5. ทักษะการบริหารการเปลี่ยนแปลง

  6. ทักษะการประสานงาน และการสร้างความร่วมมือของทุกฝ่ายในการดำเนินงาน

(ข) ความต้องการด้านความรู้


  1. ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำแผนปฏิบัติการ (Action plan)

  2. ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรม เพื่อบรรลุเป้าประสงค์

  3. ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนางานวิจัย

  4. ความรู้ความเข้าใจในด้านการด้านการบริหารโครงการ

  5. ความรู้ความเข้าใจในสถานการณ์ ความสามารถในการเก็บวิเคราะห์ข้อมูล และประเมินผล


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)


หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)




(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



แผนโครงการวิจัยสถานศึกษา



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



N/A



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



เจ้าหน้าที่สอบตรวจประเมินหลักฐานโดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงานและหลักฐานด้านความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)


PDCA คือวงจรการบริหารงานคุณภาพ ประกอบด้วย P = Plan คือการวางแผนจากวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่ได้กำหนดขึ้น D = Do คือการปฏิบัติตามขั้นตอนในแผนงานที่ได้เขียนไว้อย่างเป็นระบบและมีความต่อเนื่อง C = Checkคือ การตรวจสอบผลการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอนของแผนงานว่ามีปัญหาอะไรเกิดขึ้น จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไขแผนงานในขั้นตอนใดบ้าง A = Act คือ การปรับปรุงแก้ไขส่วนที่มีปัญหา หรือถ้าไม่มีปัญหาใดๆ ก็ยอมรับแนวทางการปฏิบัติตามแผนงานที่ได้ผลสำเร็จ เพื่อนำไปใช้ในการทำงานครั้งต่อไปเมื่อได้แผนงาน (P) นำไปปฏิบัติ (D) ระหว่างปฏิบัติก็ดำเนินการตรวจสอบ(C) พบปัญหาก็ทำการแก้ไขหรือปรับปรุง (A) การปรับปรุงก็เริ่มจากการวางแผนก่อน วนไปเรื่อยๆ จึงเรียกวงจร PDCA


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)


คัดกรองผู้สมัครจากใบสมัครเพื่อพิจารณาคุณสมบัติเบื้องต้นก่อนอนุมัติให้เข้าสู่กระบวนการประเมินทั้งนี้กระบวนการและวิธีการประเมินให้ดูรายละเอียดได้จากคู่มือการประเมิน




1. จัดการงานวิจัยในชั้นเรียน




  • การสอบข้อเขียนแบบปรนัย 4 ตัวเลือก เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของผู้สมัครเกี่ยวกับการกำหนดนโยบาย เป้าหมายและแผนงานด้านงานวิจัยในชั้นเรียน การจัดทำโครงการวิจัยในชั้นเรียน ตามนโยบายและแผนงานที่กำหนด การดำเนินโครงการและกิจกรรมงานวิจัยในชั้นเรียนตามโครงการที่กำหนด การประเมินผลโครงการงานวิจัยในชั้นเรียนตามโครงการที่กำหนดการจัดทำรายงานสรุปผลการประเมินผลโครงการงานวิจัยในชั้นเรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๒แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓

  • การใช้วิธีการสัมภาษณ์ เป็นคำถามปลายเปิด เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของผู้สมัครเกี่ยวกับการกำหนดนโยบาย เป้าหมายและแผนงานด้านงานวิจัยในชั้นเรียน การจัดทำโครงการวิจัยในชั้นเรียน ตามนโยบายและแผนงานที่กำหนด การดำเนินโครงการและกิจกรรมงานวิจัยในชั้นเรียนตามโครงการที่กำหนด การประเมินผลโครงการงานวิจัยในชั้นเรียนตามโครงการที่กำหนดการจัดทำรายงานสรุปผลการประเมินผลโครงการงานวิจัยในชั้นเรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๒แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓

  • การประเมินเอกสารประกอบการปฏิบัติงาน ผู้ประเมินทำการตรวจสอบหลักฐานการปฏิบัติงานของผู้สมัคร ตรวจสอบร่องรอยจากเอกสารโดยพิจารณาเอกสารตามข้อ 14 ประกอบกับหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า ผู้สมัครมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการกำหนดนโยบาย เป้าหมายและแผนงานด้านงานวิจัยในชั้นเรียน การจัดทำโครงการวิจัยในชั้นเรียน ตามนโยบายและแผนงานที่กำหนด การดำเนินโครงการและกิจกรรมงานวิจัยในชั้นเรียนตามโครงการที่กำหนด การประเมินผลโครงการงานวิจัยในชั้นเรียนตามโครงการที่กำหนดการจัดทำรายงานสรุปผลการประเมินผลโครงการงานวิจัยในชั้นเรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๒แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓




2. จัดการงานวิจัยสถานศึกษา (วิจัยสถาบัน)




  • การสอบข้อเขียนแบบปรนัย 4 ตัวเลือก เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของผู้สมัครเกี่ยวกับการกำหนดนโยบาย เป้าหมายและแผนงานด้านงานวิจัยสถานศึกษาการจัดทำโครงการงานวิจัยสถานศึกษาตามนโยบายและแผนงานที่กำหนด การดำเนินโครงการและกิจกรรมงานวิจัยสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนด การประเมินผลโครงการงานวิจัยสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนดและการจัดทำรายงานสรุปผลการประเมินผลโครงการงานวิจัยสถานศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๒แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓

  • การใช้วิธีการสัมภาษณ์ เป็นคำถามปลายเปิด เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของผู้สมัครเกี่ยวกับการกำหนดนโยบาย เป้าหมายและแผนงานด้านงานวิจัยสถานศึกษาการจัดทำโครงการงานวิจัยสถานศึกษาตามนโยบายและแผนงานที่กำหนด การดำเนินโครงการและกิจกรรมงานวิจัยสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนด การประเมินผลโครงการงานวิจัยสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนดและการจัดทำรายงานสรุปผลการประเมินผลโครงการงานวิจัยสถานศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๒แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓

  • การประเมินเอกสารประกอบการปฏิบัติงาน ผู้ประเมินทำการตรวจสอบหลักฐานการปฏิบัติงานของผู้สมัคร ตรวจสอบร่องรอยจากเอกสารโดยพิจารณาเอกสารตามข้อ 14 ประกอบกับหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า ผู้สมัครมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการกำหนดนโยบาย เป้าหมายและแผนงานด้านงานวิจัยสถานศึกษาการจัดทำโครงการงานวิจัยสถานศึกษาตามนโยบายและแผนงานที่กำหนด การดำเนินโครงการและกิจกรรมงานวิจัยสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนด การประเมินผลโครงการงานวิจัยสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนดและการจัดทำรายงานสรุปผลการประเมินผลโครงการงานวิจัยสถานศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๒แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓




3. ส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษา




  • การสอบข้อเขียนแบบปรนัย 4 ตัวเลือก เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของผู้สมัครเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายและแผนงานส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษาการจัดทำโครงการส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษาตามนโยบายและแผนงานที่กำหนด การดำเนินโครงการและกิจกรรมส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนด การประเมินผลโครงการส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนดการจัดทำรายงานสรุปผลการประเมินผลโครงการส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๒แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓

  • การใช้วิธีการสัมภาษณ์ เป็นคำถามปลายเปิด เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของผู้สมัครเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายและแผนงานส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษา การจัดทำโครงการส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษาตามนโยบายและแผนงานที่กำหนด การดำเนินโครงการและกิจกรรมส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนด การประเมินผลโครงการส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนด การจัดทำรายงานสรุปผลการประเมินผลโครงการส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๒แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓

  • การประเมินเอกสารประกอบการปฏิบัติงาน ผู้ประเมินทำการตรวจสอบหลักฐานการปฏิบัติงานของผู้สมัคร ตรวจสอบร่องรอยจากเอกสารโดยพิจารณาเอกสารตามข้อ 14 ประกอบกับหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า ผู้สมัครมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายและแผนงานส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษา การจัดทำโครงการส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษาตามนโยบายและแผนงานที่กำหนด การดำเนินโครงการและกิจกรรมส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนด  การประเมินผลโครงการส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษาตามโครงการที่กำหนด การจัดทำรายงานสรุปผลการประเมินผลโครงการส่งเสริมให้มีการวิจัยในสถานศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๒แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓





 



 


ยินดีต้อนรับ