หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ประเมินผลก่อนการประชาสัมพันธ์

สาขาวิชาชีพธุรกิจโฆษณาประชาสัมพันธ์และสื่อสารมวลชน


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ PCP-APR-6-048ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ประเมินผลก่อนการประชาสัมพันธ์

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

          ชื่ออาชีพ 1222 Advertising and Public Relations Managers, 2432 Public Relations Professionals


1 1222 ผู้จัดการด้านโฆษณาและประชาสัมพันธ์
1 2432 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านการประชาสัมพันธ์

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
          ผู้ที่ผ่านสมรรถนะนี้จะสามารถประเมินผลสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ก่อนการประชาสัมพันธ์ได้ ประเมินระหว่างการทำงานตามแผนงานที่กำหนด โดยประเมินตามเกณฑ์ที่ออกแบบไว้ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับแผนการประชาสัมพันธ์ขององค์กร เข้าใจกลุ่มเป้าหมายและรู้จักช่องทางในการสื่อสารต่างๆ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
สาขาวิชาชีพธุรกิจโฆษณาและประชาสัมพันธ์ สาขาประชาสัมพันธ์ (Public Relations)

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
04101.01 ประเมินความสําเร็จของแผนงาน 1. ตรวจแผนความเป็นไปได้ด้านทรัพยากร 04101.01.01 136375
04101.01 ประเมินความสําเร็จของแผนงาน 2. ตรวจแผนความเป็นไปได้ด้านงบประมาณ 04101.01.02 136376
04101.01 ประเมินความสําเร็จของแผนงาน 3. ตรวจแผนความเป็นไปได้ช่องทางของสื่อ 04101.01.03 136377
04101.01 ประเมินความสําเร็จของแผนงาน 4. ตรวจแผนความเป็นไปได้ด้านการสื่อสาร 04101.01.04 136378
04101.02 ประเมินความพึงพอใจที่มีต่อแผนงาน 1. ตรวจสอบความพึงพอใจความสนใจต่อ กลุ่มเป้าหมายที่กำหนด 04101.02.01 136379
04101.02 ประเมินความพึงพอใจที่มีต่อแผนงาน 2. ตรวจสอบความพึงพอใจต่อ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน 04101.02.02 136380
04101.03 ประเมินการปฎิบัติงานขั้นต้น 1. ตรวจสอบการเรียงลำดับความสำคัญขั้นตอนการทำก่อนและหลัง 04101.03.01 136381
04101.03 ประเมินการปฎิบัติงานขั้นต้น 2. บันทึกรายละเอียดข้อคิดเห็นในแต่ละขั้นตอนในการทำงาน 04101.03.02 136382
04101.03 ประเมินการปฎิบัติงานขั้นต้น 3. ตรวจสอบการจัดเตรียมเครื่องมือในการปฏิบัติงาน 04101.03.03 136383

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ


  1. การวัดประเมินผล

  2. การประเมินทรัพยากร

(ข) ความต้องการด้านความรู้


  1. การวางแผนและติดตามประเมินผล

  2. การบริหารจัดการทรัพยากรและบุคคล


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ



2. แบบบันทึกรายการจากการสังเกต



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ



2. แบบบันทึกรายการจากการสัมภาษณ์



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



1. ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการออกแบบแนวทางการประเมินผลก่อนการประชาสัมพันธ์โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานความรู้



(ง) วิธีการประเมิน



1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน



2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ



          หน่วยสมรรถนะนี้เป็นการทดสอบ ประเมินการประเมินผลก่อนการประชาสัมพันธ์ โดยในการประเมินต้องคำนึงถึงข้อปฏิบัติดังต่อไปนี้



          1) ผู้เข้ารับการประเมินสามารถแสดงความรู้ และความสามารถในการประเมินผลสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ก่อนการประชาสัมพันธ์ได้ ประเมินระหว่างการทำงานตามแผนงานที่กำหนด โดยประเมินตามเกณฑ์ที่ออกแบบไว้



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



          การประเมินผลก่อนการทำประชาสัมพันธ์ (Pre-Testing) เป็นการประเมินผลก่อนที่จะดำเนินการตามแผนงานประชาสัมพันธ์ที่วางไว้ เพื่อเป็นการตรวจสอบข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้นในทุกรูปแบบ และในขณะเดียวกันก็จะนำข้อมูลเหล่านั้นไปปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ก่อถึงการปฏิบัติงานประชาสัมพันธ์ต่อไป



          การประเมินผล เป็นกระบวนการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ ซึ่งจะเน้นดูว่าการดำเนินงานประชาสัมพันธ์นั้นได้ ดำเนินไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่มีปัญหาและอุปสรรคอะไรเกิดขึ้นบ้างสามารถแก้ไขได้หรือไม่ จุดมุ่งหมายของการประเมินผล เพื่อเป็นการพัฒนาแผนการประชาสัมพันธ์ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้นในอนาคต ความสำคัญของการประเมินผลที่มีต่อการประชาสัมพันธ์คือ การประเมินผลสามารถบอกอดีตการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ สามารถบอกสถานภาพในปัจจุบันได้ สามารถตรวจสอบทรัพยากรที่มีอยู่ได้ สามารถตรวจสอบงบประมาณที่ตั้งไว้ สามารถตรวจสอบช่องทางในการแผยแพร่ของสื่อของหน่วยงาน องค์กร และสถาบัน สามารถให้ประโยชน์ ในการคาดการณ์ในอนาคตและสร้างความน่าเชื่อถือและพิสูจน์ความเป็นมืออาชีพการประเมินผลการประชาสัมพันธ์


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือประเมินกำหนดวัตถุประสงค์ทางธุรกิจตามข้อกำหนดมาตรฐาน



1.  แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์



2.  ผลข้อสอบข้อเขียน



ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน



18.2 เครื่องมือประเมินการกำหนดโจทย์หรือปัญหาในธุรกิจตามข้อกำหนดมาตรฐาน



1.  แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์



2.  ผลข้อสอบข้อเขียน



ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน



18.3 เครื่องมือประเมินการกำหนดเกณฑ์ความสำเร็จของธุรกิจตามข้อกำหนดมาตรฐาน



1.  แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์



2.  ผลข้อสอบข้อเขียน



ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน



ยินดีต้อนรับ