หน่วยสมรรถนะ
ออกแบบแนวทางการประเมินผลหลังการประชาสัมพันธ์
สาขาวิชาชีพธุรกิจโฆษณาประชาสัมพันธ์และสื่อสารมวลชน
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | PCP-APR-5-045ZB |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ออกแบบแนวทางการประเมินผลหลังการประชาสัมพันธ์ |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / - |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
ชื่ออาชีพ 2432 Public Relations Professionals 1 2432 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านการประชาสัมพันธ์ |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านสมรรถนะนี้จะสามารถออกแบบแนวทางการประเมินผล ออกแบบแบบประเมิน วิธีประเมิน และตั้งเกณฑ์ในรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับการประเมินหลังการประชาสัมพันธ์ได้ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับแผนการประชาสัมพันธ์ขององค์กร เข้าใจกลุ่มเป้าหมายและรู้จักช่องทางในการสื่อสารต่างๆ รวมถึงความรู้เรื่องการสำรวจข้อมูลในหลากหลายช่องทาง |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
สาขาวิชาชีพธุรกิจโฆษณาและประชาสัมพันธ์ สาขาประชาสัมพันธ์ (Public Relations) |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
02203.01 สร้างเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงาน | 1. ออกแบบการประเมินและสรุปผลความสำเร็จ/ล้มเหลวด้านคน | 02203.01.01 | 136341 |
02203.01 สร้างเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงาน | 2. ออกแบบการประเมินและสรุปผลความสำเร็จ/ล้มเหลว ด้านงบประมาณ | 02203.01.02 | 136342 |
02203.01 สร้างเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงาน | 3. ออกแบบการประเมินและสรุปผลความสำเร็จ/ล้มเหลว ด้านวัสดุอุปกรณ์ | 02203.01.03 | 136343 |
02203.01 สร้างเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงาน | 4. ออกแบบการประเมินและสรุปผลความสำเร็จ/ล้มเหลว ด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร | 02203.01.04 | 136344 |
02203.02 สร้างเกณฑ์การประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการสื่อสาร | 1. ออกแบบการประเมินและสรุปผลความสำเร็จ/ล้มเหลวของความพึงพอใจต่อ กลุ่มเป้าหมาย | 02203.02.01 | 136345 |
02203.02 สร้างเกณฑ์การประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการสื่อสาร | 2. ออกแบบการประเมินและสรุปผลความสำเร็จ/ล้มเหลว ของความพึงพอใจต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน | 02203.02.02 | 136346 |
02203.02 สร้างเกณฑ์การประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการสื่อสาร | 3. ออกแบบการประเมินและสรุปผลความสำเร็จ/ล้มเหลว ของความพึงพอใจต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก | 02203.02.03 | 136347 |
02203.03 สร้างเกณฑ์ประเมินผลการตอบรับต่อแผนการประชาสัมพันธ์ | 1. ออกแบบการประเมินและสรุปผลความสำเร็จ/ล้มเหลวของแผนงานด้านการบริหารจัดการ | 02203.03.01 | 136348 |
02203.03 สร้างเกณฑ์ประเมินผลการตอบรับต่อแผนการประชาสัมพันธ์ | 2. ออกแบบการประเมินและสรุปผลความสำเร็จ/ล้มเหลว ของแผนงานด้านกระบวนการผลิต | 02203.03.02 | 136349 |
02203.03 สร้างเกณฑ์ประเมินผลการตอบรับต่อแผนการประชาสัมพันธ์ | 3. ออกแบบการประเมินและสรุปผลความสำเร็จ/ล้มเหลว ของแผนงาน ด้านการสื่อสาร | 02203.03.03 | 136350 |
02203.03 สร้างเกณฑ์ประเมินผลการตอบรับต่อแผนการประชาสัมพันธ์ | 4. สำรวจความเสี่ยงที่เกิดขึ้นระหว่างการดำเนินโครงการทั้งหมด | 02203.03.04 | 136351 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
(ข) ความต้องการด้านความรู้
|
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ 2. แบบบันทึกรายการจากการสังเกต (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ 2. แบบบันทึกรายการจากการสัมภาษณ์ (ค) คำแนะนำในการประเมิน 1. ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการกำหนดวัตถุประสงค์ทางธุรกิจโดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานความรู้ (ง) วิธีการประเมิน 1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน 2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้ |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ หน่วยสมรรถนะนี้เป็นการทดสอบ ประเมินการกำหนดวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ โดยในการประเมินต้องคำนึงถึงข้อปฏิบัติดังต่อไปนี้ 1) ผู้เข้ารับการประเมินสามารถแสดงความรู้ และความสามารถในการออกแบบแบบประเมิน วิธีประเมิน และตั้งเกณฑ์ในรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับการประเมินหลังการประชาสัมพันธ์ได้ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับแผนการประชาสัมพันธ์ขององค์กร เข้าใจกลุ่มเป้าหมายและรู้จักช่องทางในการสื่อสารต่างๆ รวมถึงความรู้เรื่องการสำรวจข้อมูลในหลากหลายช่องทาง (ข) คำอธิบายรายละเอียด การออกแบบแนวทางการประเมินหลังการประชาสัมพันธ์ ในที่นี้หมายถึงการออกแบบการประเมินในช่วงหลังจากการนำสื่อเผยแพร่ออกไปประชาสัมพันธ์ในช่องทางต่างๆ โดยจุดประสงค์หลังของการออกแบบการประเมินเพื่อการประเมินสิ่งแวดล้อมภายนอก ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและกลุ่มเป้าหมายหลัก กลุ่มเป้าหมายรอง เกี่ยวกับการเข้าถึง รับรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับชื่อเสียง ภาพลักษณ์ขององค์กร หลังจากที่ทำการประชาสัมพันธ์ออกไปในช่องทางต่างๆแล้ว เป็นต้น การประเมินผลการประชาสัมพันธ์ ผลลัพธ์ของการประชาสัมพันธ์เป็นสิ่งที่ยากจะวัดได้ เพราะการประชาสัมพันธ์มักจะถูกใช้ร่วมกับเครื่องมือในการส่งเสริมการตลาดอื่นๆ ตัววัดที่มักจะถูกนำมาใช้ในการประเมินผลประสิทธิภาพของการประชาสัมพันธ์ ทางการตลาดมี 3 ประเภท ได้แก่
|
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 เครื่องมือประเมินกำหนดวัตถุประสงค์ทางธุรกิจตามข้อกำหนดมาตรฐาน 1. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์ 2. ผลข้อสอบข้อเขียน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.2 เครื่องมือประเมินการกำหนดโจทย์หรือปัญหาในธุรกิจตามข้อกำหนดมาตรฐาน 1. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์ 2. ผลข้อสอบข้อเขียน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.3 เครื่องมือประเมินการกำหนดเกณฑ์ความสำเร็จของธุรกิจตามข้อกำหนดมาตรฐาน 1. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์ 2. ผลข้อสอบข้อเขียน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน |