หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

วางแผนการปฏิบัติและควบคุมการปฏิบัติงานฉาบ

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมก่อสร้างและการผังเมือง


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ CIP-CFB-4-017ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ วางแผนการปฏิบัติและควบคุมการปฏิบัติงานฉาบ

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ช่างฉาบปูน



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะสามารถ กองเก็บวัสดุมิให้เสียหายและสามารถเตรียมวัสดุได้ทันการใช้งาน

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อุตสาหกรรมก่อสร้าง

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
20431 วางแผนการทำงานฉาบปูน 1.1วางแผนการใช้วัสดุได้อย่างเหมาะสมกับแผนงานของโครงการ 20431.01 136131
20431 วางแผนการทำงานฉาบปูน 1.2วางแผนการใช้เครื่องมือได้อย่างเหมาะสมกับแผนงานของโครงการ 20431.02 136132
20431 วางแผนการทำงานฉาบปูน 1.3วางแผนการใช้กำลังคนได้อย่างเหมาะสมกับแผนงานของโครงการ 20431.03 136133
20432 ประสานงานกับผู้ร่วมงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 2.1 ประสานงานกับส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้องได้ 20432.01 136134
20432 ประสานงานกับผู้ร่วมงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 2.2 ทำงานร่วมกับสาขาช่างอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่นช่างก่ออิฐ ช่างปูกระเบื้อง ช่างไม้ ช่างไฟฟ้า ช่างท่อและสุขภัณฑ์ ฯลฯ 20432.02 136135
20432 ประสานงานกับผู้ร่วมงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 2.3 ปฏิบัติงานฉาบปูนร่วมกับงานอื่นที่เกี่ยวข้องได้ 20432.03 136136

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

       ผู้รับการประเมิน ต้องมีประสบการณ์และเทคนิคการพ่นปูนฉาบรวมถึง เทคนิคการฉาบตกแต่งและสามารถตรวจสอบวิเคราะห์รอยร้าว การตัดสินใจ และการแก้ไขปัญหางานฉาบปูนอีกทั้งต้องมีความรู้ในการอ่านแบบก่อสร้างและคำนวณปริมาณพื้นที่และวัสดุที่ใช้ในการฉาบปูน


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

การประสานงานกับผู้ร่วมงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

(ข) ความต้องการด้านความรู้

การวางแผนทำงานฉาบปูน  


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



1. แบบทดสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ และ



2. แบบสังเกตการปฏิบัติงาน/สาธิตการทำงาน



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



1. ผลการสอบข้อเขียน จากแบบทดสอบความรู้ และ



2. แบบสังเกตการปฏิบัติงาน/สาธิตการทำงาน



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



-



(ง) วิธีการประเมิน



1. ทดสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ และ



2. สังเกตการปฏิบัติงาน/สาธิตการทำงาน


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ



ผู้รับการประเมินควรมีการวางแผนในการทำงานและต้องมีการประสานงานกับช่างฝ่ายอื่นๆเพื่อให้งานก่อสร้างเป็นไปตามระบบ



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



ในทำงานร่วมกับสาขาช่างอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ช่างก่ออิฐ ช่างปูกระเบื้อง ช่างไม้ ช่างไฟฟ้า ช่างท่อและสุขภัณฑ์ ฯลฯ จะต้องมีการปรึกษาขั้นตอนในการทำงานเพื่อให้การทำงานเป็นไปอย่างเรียบร้อย


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1. เครื่องมือประเมิน เลือกเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้ถูกต้องเหมาะสมกับลักษณะงาน



1. แบบทดสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ และ



2. แบบสังเกตการปฏิบัติงาน/สาธิตการทำงาน



(ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน)



2. เครื่องมือประเมิน บำรุงรักษา และจัดเก็บเครื่องมือต่างๆ ได้อย่างถูกวิธี



1. แบบทดสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ และ



2. แบบสังเกตการปฏิบัติงาน/สาธิตการทำงาน



(ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน)



ยินดีต้อนรับ