หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ประเมินคุณภาพเครื่องประดับ

สาขาวิชาชีพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ GEM-ZZZ-6-061ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ประเมินคุณภาพเครื่องประดับ

3. ทบทวนครั้งที่ N/A / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพผู้ประเมินคุณภาพเครื่องประดับ ชั้น 6



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
บุคคลที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพจากการออกแบบเครื่องประดับ  การประเมินคุณภาพจากชนิดวัตถุดิบของเครื่องประดับ   และการประเมินคุณภาพจากคุณค่าของตัวเรือนเครื่องประดับ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มวิชาชีพอัญมณีและเครื่องประดับ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
301051 ประเมินคุณภาพจากการออกแบบเครื่องประดับ 1. ประเมินคุณภาพจากรูปร่าง รูปทรงของเครื่องประดับ 301051.01 135111
301051 ประเมินคุณภาพจากการออกแบบเครื่องประดับ 2. ประเมินคุณภาพจากชนิดและจำนวนของวัตถุดิบที่ใช้ในการออกแบบเครื่องประดับ 301051.02 135112
301052 ประเมินคุณภาพจากชนิดวัตถุดิบของเครื่องประดับ 1. ประเมินคุณภาพจากวัตถุดิบที่นำมาใช้ทำเครื่องประดับ 301052.01 135113
301052 ประเมินคุณภาพจากชนิดวัตถุดิบของเครื่องประดับ 2. ประเมินคุณภาพจากการเลือกวัสดุให้สัมพันธ์กับการออกแบบ 301052.02 135114
301052 ประเมินคุณภาพจากชนิดวัตถุดิบของเครื่องประดับ 3. ประเมินคุณภาพจากน้ำหนักของตัวเรือนเครื่องประดับ 301052.03 135115
301053 ประเมินคุณภาพจากคุณค่าของตัวเรือนเครื่องประดับ 1. ประเมินคุณภาพจากความประณีตในการผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ 301053.01 135116
301053 ประเมินคุณภาพจากคุณค่าของตัวเรือนเครื่องประดับ 2. ประเมินชนิดและความบริสุทธิ์ของโลหะที่ใช้ผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ 301053.02 135117

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

    1.ประเมินคุณภาพจากการออกแบบเครื่องประดับ

        0.1 1. ประเมินคุณภาพจากรูปร่าง รูปทรงของเครื่องประดับ

        0.2 2. ประเมินคุณภาพจากชนิดและจำนวนของวัตถุดิบที่ใช้ในการออกแบบเครื่องประดับ

    1.ประเมินคุณภาพจากชนิดวัตถุดิบของเครื่องประดับ

        0.3 1. ประเมินคุณภาพจากวัตถุดิบที่นำมาใช้ทำเครื่องประดับ

        0.4 2. ประเมินคุณภาพจากการเลือกวัสดุให้สัมพันธ์กับการออกแบบ

        0.5 3. ประเมินคุณภาพจากน้ำหนักของตัวเรือนเครื่องประดับ

    1.ประเมินคุณภาพจากคุณค่าของตัวเรือนเครื่องประดับ

        0.6 1. ประเมินคุณภาพจากความประณีตในการผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ

        0.7 2. ประเมินชนิดและความบริสุทธิ์ของโลหะที่ใช้ผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ

(ข) ความต้องการด้านความรู้

สมรรถนะย่อย (EoC)



301051 ประเมินคุณภาพจากการออกแบบเครื่องประดับ



301052 ประเมินคุณภาพจากชนิดวัตถุดิบของเครื่องประดับ



301053 ประเมินคุณภาพจากความประณีตของตัวเรือนเครื่องประดับ



เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (PC)



1. ประเมินคุณภาพจากรูปร่าง รูปทรงของเครื่องประดับ



2. ประเมินคุณภาพจากชนิดและจำนวนของวัตถุดิบที่ใช้ในการออกแบบเครื่องประดับ



1. ประเมินคุณภาพจากวัตถุดิบที่นำมาใช้ทำเครื่องประดับ



2. ประเมินคุณภาพจากการเลือกวัสดุให้สัมพันธ์กับการออกแบบ



3. ประเมินคุณภาพจากน้ำหนักของตัวเรือนเครื่องประดับ



1. ประเมินคุณภาพจากความประณีตในการผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ



2. ประเมินชนิดและความบริสุทธิ์ของโลหะที่ใช้ผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ



 



ความรู้ที่ต้องการ (Knowledge)



K1.1 ความรู้เกี่ยวกับรูปร่าง รูปทรงของเครื่องประดับ



K1.2 ความรู้เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพจากรูปร่าง รูปทรงของเครื่องประดับ



K2.1 ความรู้เกี่ยวกับชนิดของวัตถุดิบที่ใช้ในการออกแบบเครื่องประดับ



K2.2 ความรู้เกี่ยวกับประเมินคุณภาพจากชนิดและจำนวนของวัตถุดิบที่ใช้ในการออกแบบเครื่องประดับ



K1.1 ความรู้เกี่ยวกับวัตถุดิบที่นำมาใช้ทำเครื่องประดับ



K1.2 ความรู้เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพจากวัตถุดิบที่นำมาใช้ทำเครื่องประดับ



K2.1 ความรู้เกี่ยวกับการเลือกวัสดุให้สัมพันธ์กับการออกแบบ



K2.2 ความรู้เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพจากการเลือกวัสดุให้สัมพันธ์กับการออกแบบ



K3.1 ความรู้เกี่ยวกับน้ำหนักของตัวเรือนเครื่องประดับ



K3.2 ความรู้เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพจากน้ำหนักของตัวเรือนเครื่องประดับ



K1.1 ความรู้เกี่ยวกับการผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ



K1.2 ความรู้เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพจากความประณีตในการผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ



K2.1 ความรู้เกี่ยวกับชนิดและความบริสุทธิ์ของโลหะที่ใช้ผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ



K2.2 ความรู้เกี่ยวกับประเมินชนิดและความบริสุทธิ์ของโลหะที่ใช้ผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ



 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)



    (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



ES1.1-1 แสดงการประเมินคุณภาพจากรูปร่าง รูปทรงของเครื่องประดับ



ES2.1-2 แสดงการประเมินคุณภาพจากชนิดของวัตถุดิบที่ใช้ในการออกแบบเครื่องประดับ



ES2.2-3 แสดงการประเมินคุณภาพจากจำนวนของวัตถุดิบที่ใช้ในการออกแบบเครื่องประดับ



ES1.1-4 แสดงการประเมินคุณภาพจากวัตถุดิบที่นำมาใช้ทำเครื่องประดับ



ES2.1-5 เลือกวัสดุให้สัมพันธ์กับการออกแบบ



ES2.2-6 แสดงการประเมินคุณภาพจากการเลือกวัสดุให้สัมพันธ์กับการออกแบบ



ES3.1-7 แสดงการประเมินคุณภาพจากน้ำหนักของตัวเรือนเครื่องประดับ



ES1.1-8 แสดงการประเมินคุณภาพจากความประณีตในการผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ



ES2.1-9 แสดงการประเมินชนิดของโลหะที่ใช้ผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ



ES2.2-10 แสดงการประเมินความบริสุทธิ์ของโลหะที่ใช้ผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ



 



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



EK1.1-1 อธิบายรูปร่าง รูปทรงของเครื่องประดับ



EK1.2-2 อธิบายวิธีการประเมินคุณภาพจากรูปร่าง รูปทรงของเครื่องประดับ



EK2.1-3 อธิบายชนิดของวัตถุดิบที่ใช้ในการออกแบบเครื่องประดับ



EK2.2-4 อธิบายวิธีการประเมินคุณภาพจากชนิดและจำนวนของวัตถุดิบที่ใช้ในการออกแบบเครื่องประดับ



EK1.1-5 อธิบายวัตถุดิบที่นำมาใช้ทำเครื่องประดับ



EK1.2-6



uงวิธีการือเพื่อตรวจสอบและระบุอธิบายวิธีการประเมินคุณภาพจากวัตถุดิบที่นำมาใช้ทำเครื่องประดับ



EK2.1-7 อธิบายเลือกวัสดุให้สัมพันธ์กับการออกแบบ       



EK2.2-8 อธิบายวิธีการประเมินคุณภาพจากการเลือกวัสดุให้สัมพันธ์กับการออกแบบ



EK3.1-9 อธิบายน้ำหนักของตัวเรือนเครื่องประดับ



EK3.2-10 อธิบายวิธีการประเมินคุณภาพจากน้ำหนักของตัวเรือนเครื่องประดับ



EK1.1-11 อธิบายกระบวนการผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ



EK1.2-12 อธิบายวิธีการประเมินคุณภาพจากความประณีตในการผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ



EK2.1-13 อธิบายชนิดและความบริสุทธิ์ของโลหะที่ใช้ผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ



EK2.2-14 อธิบายวิธีการประเมินชนิดและความบริสุทธิ์ของโลหะที่ใช้ผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



ประเมินเกี่ยวกับสมรรถนะวิชาชีพในแต่ละหน่วยสมรรถนะ โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานด้านความรู้



(ง) วิธีการประเมิน



1. พิจารณาหลักฐานความรู้



เอกสารรับรองการผ่านการสอบข้อเขียนหรือผลการทดสอบความรู้ตามวัตถุประสงค์



2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน



2.1 เอกสารรับรองการปฏิบัติงานหรือผลการประเมินการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ



2.2 เอกสารการประเมินตามวัตถุประสงค์ด้านทักษะ.



 


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่น ๆ หรือสถานการณ์อื่น ๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง



 (ก) คำแนะนำ



การประเมินค่าจากคุณภาพเครื่องประดับ ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องแสดงเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพจากการออกแบบเครื่องประดับ การประเมินคุณภาพจากชนิดวัตถุดิบของเครื่องประดับ และการประเมินคุณภาพจากคุณค่าของตัวเรือนเครื่องประดับ



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



1. การประเมินคุณภาพจากการออกแบบเครื่องประดับ โดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะในการประเมินคุณภาพจากความสวยงามจากรูปร่าง รูปทรงของเครื่องประดับ ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบเครื่องประดับ  และความซับซ้อนในการออกแบบและผลิตเครื่องประดับ



2. การประเมินคุณภาพจากชนิดวัตถุดิบของเครื่องประดับ โดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะในการประเมินคุณภาพจากวัตถุดิบที่นำมาใช้ทำเครื่องประดับวัสดุที่นำมาใช้ส่วนใหญ่มักจะใช้สิ่งของที่มีความสวยงาม เป็นที่หายากหรือมีมูลค่าสูงและความคงทนของวัตถุดิบ การประเมินคุณภาพจากการเลือกวัสดุให้สัมพันธ์กับการออกแบบซึ่งการเลือกวัสดุมาใช้ให้สัมพันธ์กับการออกแบบจะพิจารณาจากวัสดุที่มีอยู่ก่อนเป็นสำคัญ เช่น จากหินสีอะไร รูปทรงแบบใด โลหะชนิด และสีอะไร เป็นต้นออกแบบให้สัมพันธ์กับวัสดุที่มีอยู่ การออกแบบควรเริ่มจากการออกแบบจากง่ายๆ ด้วยการสเก็ตด้วยมือ จนถึงการนำไปเขียนแบบจริงในคอมพิวเตอร์



3. การประเมินคุณภาพจากความประณีตของตัวเรือนเครื่องประดับ โดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะในการประเมินคุณภาพจากความประณีตในการผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ เช่น ความสมมาตรของตัวเรือน ความสมบูรณ์ของพื้นผิว ความคงทน และบริเวณจุดเชื่อมต่อ ข้อต่อ ตัวสลักเนื่องจากจุดดังกล่าวจะแตกหักได้ง่ายและการประเมินชนิดและความบริสุทธิ์ของโลหะที่ใช้ผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1เครื่องมือการประเมิน



           1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



            2. แบบประเมินผลการสัมภาษณ์



           ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



      18.2เครื่องมือการประเมิน



           1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



            2. แบบประเมินผลการสัมภาษณ์



           ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



      18.3 เครื่องมือการประเมิน



           1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



            2. แบบประเมินผลการสัมภาษณ์



           ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



ยินดีต้อนรับ