หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

กำหนดวิธีการประเมินคุณภาพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า

สาขาวิชาชีพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ GEM-ZZZ-6-059ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ กำหนดวิธีการประเมินคุณภาพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า

3. ทบทวนครั้งที่ N/A / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

1. อาชีพผู้ประเมินคุณภาพโลหะมีค่า



2. อาชีพผู้ประเมินคุณภาพอัญมณี



3. อาชีพผู้ประเมินคุณภาพเพชร



4. อาชีพผู้ประเมินคุณภาพเครื่องประดับ



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
บุคคลที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการกำหนดเครื่องมือการประเมินคุณภาพ  การกำหนดการประเมินคุณภาพจากมูลค่า และการกำหนดการประเมินคุณภาพจากข้อมูลการตลาด

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มวิชาชีพอัญมณีและเครื่องประดับ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
301011 กำหนดเครื่องมือการประเมินคุณภาพ 1. ประเมินคุณภาพอัญมณีเครื่องประดับ และโลหะมีค่า ด้วยวิธีการใช้แสง 301011.01 135061
301011 กำหนดเครื่องมือการประเมินคุณภาพ 2. เลือกใช้ตารางสำหรับเทียบสีอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า 301011.02 135062
301011 กำหนดเครื่องมือการประเมินคุณภาพ 3. เลือกใช้เครื่องมือเพื่อตรวจสอบตำหนิภายในอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า 301011.03 135063
301011 กำหนดเครื่องมือการประเมินคุณภาพ 4. เลือกใช้เครื่องมือเพื่อตรวจสอบขนาดและน้ำหนักอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า 301011.04 135064
301011 กำหนดเครื่องมือการประเมินคุณภาพ 5. ปฏิบัติการใช้เครื่องมือเพื่อประเมินคุณภาพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า 301011.05 135065
301012 กำหนดการประเมินคุณภาพจากมูลค่า 1. ประเมินมูลค่าจากสีอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า 301012.01 135066
301012 กำหนดการประเมินคุณภาพจากมูลค่า 2. ประเมินมูลค่าจากความสะอาดอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า 301012.02 135067
301012 กำหนดการประเมินคุณภาพจากมูลค่า 3. ประเมินมูลค่าจากเจียระไนอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า 301012.03 135068
301012 กำหนดการประเมินคุณภาพจากมูลค่า 4. ประเมินมูลค่าจากน้ำหนักอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า 301012.04 135069
301013 กำหนดการประเมินคุณภาพจากข้อมูลการตลาด 1. วิเคราะห์ราคาต้นทุนการผลิตอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า 301013.01 135070
301013 กำหนดการประเมินคุณภาพจากข้อมูลการตลาด 2. กำหนดราคาขายของสภาพตลาดในแต่ละสถานที่จำหน่ายอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า 301013.02 135071
301013 กำหนดการประเมินคุณภาพจากข้อมูลการตลาด 3. กำหนดมูลค่าการขายปลีกและขายส่งอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า 301013.03 135072
301013 กำหนดการประเมินคุณภาพจากข้อมูลการตลาด 4. กำหนดมูลค่าจากวัสดุในเครื่องประดับและโลหะมีค่า 301013.04 135073

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

    1.กำหนดเครื่องมือการประเมินคุณภาพ

        0.1 1. ประเมินคุณภาพอัญมณีเครื่องประดับ และโลหะมีค่า ด้วยวิธีการใช้แสง

        0.2 2. เลือกใช้ตารางสำหรับเทียบสีอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า

        0.3 3. เลือกใช้เครื่องมือเพื่อตรวจสอบตำหนิภายในอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า

        0.4 4. เลือกใช้เครื่องมือเพื่อตรวจสอบขนาดและน้ำหนักอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า

        0.5 5. ปฏิบัติการใช้เครื่องมือเพื่อประเมินคุณภาพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า

    1.กำหนดการประเมินคุณภาพจากมูลค่า

        0.6 1. ประเมินมูลค่าจากสีอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า

        0.7 2. ประเมินมูลค่าจากความสะอาดอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า

        0.8 3. ประเมินมูลค่าจากเจียระไนอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า

        0.9 4. ประเมินมูลค่าจากน้ำหนักอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า

    1.กำหนดการประเมินคุณภาพจากข้อมูลการตลาด

        0.10 1. วิเคราะห์ราคาต้นทุนการผลิตอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า

        0.11 2. กำหนดราคาขายของสภาพตลาดในแต่ละสถานที่จำหน่ายอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า

        0.12 3. กำหนดมูลค่าการขายปลีกและขายส่งอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า

        0.13 4. กำหนดมูลค่าจากวัสดุในเครื่องประดับและโลหะมีค่า

(ข) ความต้องการด้านความรู้

สมรรถนะย่อย (EoC)



301011 กำหนดเครื่องมือการประเมินคุณภาพ



301012 กำหนดการประเมินคุณภาพจากมูลค่า



301013 กำหนดการประเมินคุณภาพจากข้อมูลการตลาด



เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (PC)



1. เลือกสภาพของแสงที่ใช้ในการประเมินคุณภาพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



2. เลือกใช้ตารางสำหรับเทียบสีอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



3. เลือกใช้เครื่องมือเพื่อตรวจสอบตำหนิภายในอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



4. เลือกใช้เครื่องมือเพื่อตรวจสอบขนาดและน้ำหนักอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



5. ปฏิบัติการใช้เครื่องมือเพื่อประเมินคุณภาพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



1. ประเมินมูลค่าจากสีอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



2. ประเมินมูลค่าจากความสะอาดอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



3. ประเมินมูลค่าจากเจียระไนอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



4. ประเมินมูลค่าจากน้ำหนักอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



1. วิเคราะห์ราคาต้นทุนการผลิตอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



2. กำหนดราคาขายของสภาพตลาดในแต่ละสถานที่จำหน่ายอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



3. กำหนดมูลค่าการขายปลีกและขายส่งอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



4. กำหนดมูลค่าจากวัสดุในเครื่องประดับและโลหะมีค่า



ความรู้ที่ต้องการ (Knowledge)



K1.1 ความรู้เกี่ยวกับแสงที่ใช้ในการประเมินคุณภาพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



K2.1 ความรู้เกี่ยวกับสีอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



K3.1 ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือเพื่อตรวจสอบตำหนิภายในอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



K4.1 ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือเพื่อตรวจสอบขนาดและน้ำหนักอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



K5.1 ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่ใช้ประเมินคุณภาพอัญมณี ได้แก่ กล้องขยาย LOUPE เครื่องชั่ง



น้ำหนัก(balance) เกจวัดขนาด(gauge)กล้องจุลทรรศน์(microscope) ปากคีบ(tweezer)



K5.2 ความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือเพื่อประเมินคุณภาพเครื่องประดับ ได้แก่ กล้องขยาย LOUPE



เครื่องชั่งน้ำหนัก เกจวัดขนาด กล้องจุลทรรศน์(microscope)



K1.1 ความรู้เกี่ยวกับหลักการประเมินคุณภาพจากสีอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



K2.1 ความรู้เกี่ยวกับหลักการประเมินคุณภาพจากความสะอาดอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



K3.1 ความรู้เกี่ยวกับหลักการประเมินคุณภาพจากเจียระไนอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



K4.1 ความรู้เกี่ยวกับหลักการประเมินคุณภาพจากน้ำหนักอัญมณีเครื่องประดับ และโลหะมีค่า



K1.1 ความรู้เกี่ยวกับการต้นทุนการผลิตอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



K2.1 ความรู้เกี่ยวกับหลักการตลาดและการกำหนดราคาขายอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



K3.1 ความรู้เกี่ยวกับมูลค่าและราคาของอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



K4.1 ความรู้เกี่ยวกับวัสดุและราคาของโลหะมีค่าในที่ใช้ทำเครื่องประดับ



 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)



(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



ES1.1-1 เลือกสภาพของแสงที่ใช้ในการประเมินคุณภาพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES1.2-2 แสดงการประเมินคุณภาพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า ด้วยวิธีการใช้แสง



ES2.1-3 เลือกใช้ตารางสำหรับเทียบสีอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES2.2-4 แสดงการอ่านอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า จากตารางเทียบสี



ES3.1-5 เลือกใช้เครื่องมือเพื่อตรวจสอบตำหนิภายในอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES3.2-6 แสดงการใช้เครื่องมือเพื่อตรวจสอบตำหนิในอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES3.2-7 แสดงตำแหน่งของตำหนิในอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES4.1-8 เลือกใช้เครื่องมือเพื่อตรวจสอบขนาดและน้ำหนักอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES4.2-9 แสดงวิธีการการวัดขนาดอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES4.2-10 แสดงวิธีการชั่งน้ำหนักอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES1.2-11 แสดงผลการประเมินมูลค่าจากสีอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES2.1-12 ระบุวิธีการประเมินมูลค่าจากความสะอาดอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES2.2-13 แสดงผลการประเมินมูลค่าจากความสะอาดอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES3.1-14 ระบุวิธีการประเมินมูลค่าจากความสะอาดอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES3.2-15 แสดงผลการประเมินมูลค่าจากความสะอาดอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES4.1-16 ระบุวิธีการประเมินมูลค่าจากน้ำหนักอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES4.2-17 แสดงผลการประเมินมูลค่าจากน้ำหนักอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES1.1-18 วิเคราะห์ราคาต้นทุนการผลิตอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES2.1-19 กำหนดราคาขายของสภาพตลาดในแต่ละสถานที่จำหน่ายอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES2.2-20 ตรวจสอบราคาขายของสภาพตลาดในแต่ละสถานที่จำหน่ายอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES3.1-21 กำหนดมูลค่าการขายปลีกและขายส่งอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES3.2-22 ตรวจสอบมูลค่าการขายปลีกและขายส่งอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



ES4.1-23 กำหนดมูลค่าจากวัสดุในเครื่องประดับและโลหะมีค่า



ES4.2-24 ตรวจสอบมูลค่าจากวัสดุในเครื่องประดับและโลหะมีค่า



 (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



EK1.1-1 อธิบายวิธีการเลือกสภาพของแสงที่ใช้ในการประเมินคุณภาพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK1.1-2 อธิบายชนิด/ประเภทของแสงที่ใช้ประเมินคุณภาพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK2.1-3 อธิบายวิธีการเลือกใช้ตารางสำหรับเทียบสีอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK2.1-4 อธิบายวิธีการใช้ตารางเทียบสีเพื่อระบุสีมาตรฐานของอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK3.1-5 อธิบายวิธีการเลือกใช้เครื่องมือเพื่อตรวจสอบตำหนิภายในอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK3.1-6



uงวิธีการือเพื่อตรวจสอบและระบุอธิบายประเภทของตำหนิในอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK3.1-7 อธิบายวิธีการตรวจสอบตำหนิในอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า        



EK4.1-8 อธิบายวิธีการเลือกใช้เครื่องมือเพื่อตรวจสอบขนาดและน้ำหนักอัญมณีเครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK5.1-9 อธิบายวิธีการใช้เครื่องมือเพื่อประเมินคุณภาพอัญมณี



EK5.2-10 อธิบายวิธีการใช้เครื่องมือเพื่อประเมินคุณภาพเครื่องประดับ



EK5.3-11 อธิบายวิธีการใช้เครื่องมือเพื่อประเมินคุณภาพโลหะมีค่า



EK1.1-12 อธิบายหลักการประเมินคุณภาพจากสีอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK1.2-13 อธิบายวิธีการประเมินคุณภาพจากสีอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK2.1-14 อธิบายหลักการประเมินคุณภาพจากความสะอาดอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK2.2-15 อธิบายวิธีการประเมินคุณภาพจากความสะอาดอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK3.1-16 อธิบายหลักการประเมินคุณภาพจากเจียระไนอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK3.2-17 อธิบายวิธีการประเมินคุณภาพจากเจียระไนอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK4.1-18 อธิบายหลักการประเมินคุณภาพจากน้ำหนักอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK4.2-19 อธิบายวิธีการประเมินคุณภาพจากน้ำหนักอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK1.1-20 วิเคราะห์ราคาต้นทุนการผลิตอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK2.1-21 อธิบายหลักการตลาด



EK2.2-22 อธิบายวิธีการกำหนดราคาขายของสภาพตลาดในแต่ละสถานที่จำหน่ายอัญมณี



เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK3.1-23 อธิบายวิธีมูลค่าและราคาของอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK3.2-24 อธิบายวิธีการกำหนดมูลค่าการขายปลีกและขายส่งอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า



EK4.1-25 อธิบายวัสดุในเครื่องประดับและโลหะมีค่า



EK4.2-26 อธิบายวิธีการกำหนดมูลค่าจากวัสดุในเครื่องประดับและโลหะมีค่า



 (ค) คำแนะนำในการประเมิน



ประเมินเกี่ยวกับสมรรถนะวิชาชีพในแต่ละหน่วยสมรรถนะ โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานด้านความรู้



(ง) วิธีการประเมิน



1. พิจารณาหลักฐานความรู้



เอกสารรับรองการผ่านการสอบข้อเขียนหรือผลการทดสอบความรู้ตามวัตถุประสงค์



2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน



2.1 เอกสารรับรองการปฏิบัติงานหรือผลการประเมินการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ



2.2 เอกสารการประเมินตามวัตถุประสงค์ด้านทักษะ.


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่น ๆ หรือสถานการณ์อื่น ๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง



 



 (ก) คำแนะนำ



การกำหนดวิธีการประเมินคุณภาพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่าผู้เข้ารับการประเมินจะต้องแสดงเกี่ยวกับการกำหนดเครื่องมือการประเมินคุณภาพ  การกำหนดการประเมินคุณภาพจากมูลค่า และการกำหนดการประเมินคุณภาพจากข้อมูลการตลาด



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



1. กำหนดเครื่องมือการประเมินคุณภาพ โดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะในการเลือกสภาพของแสงที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่าโดยใช้ เช่นการเลือกแสงที่เหมาะสมกับการประเมิน, แสงธรรมชาติ, แสงไฟส่องสว่างสีขาว และแผ่นกรองแสงและเลนส์การใช้ Penlight การใช้แสงอัลตราไวโอเลต สำหรับดูการเรืองแสงการเลือกใช้ตารางสำหรับเทียบสีอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า โดยใช้ เช่น Color Grading Chart, แสงไฟส่องสว่างสำหรับเทียบสีเพชร, การเลือกใช้เครื่องมือเพื่อตรวจสอบตำหนิภายในอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า โดยใช้ เช่น  Fiber Optic Light  และการเลือกใช้เครื่องมือเพื่อตรวจสอบขนาดและน้ำหนักอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า โดยใช้ เช่น Gauge นอกจากนั้นจะต้องปฏิบัติการใช้เครื่องมือเพื่อประเมินคุณภาพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่าเพื่อให้ผู้เข้ารับการประเมินได้มาตรฐานตามที่กำหนด



2. กำหนดการประเมินคุณภาพจากมูลค่า โดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะในการประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน 4 องค์ประกอบ (4Cs) ของอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่าได้แก่ ประเมินมูลค่าจากสี(Color) เป็นการประเมินสีของอัญมนีและเพชรประเมินมูลค่าจากความสะอาด(Clarity) เป็นการประเมินความใสสะอาดจากมลทินหรือตำหนิภายในและภายนอก ประเมินมูลค่าจากเจียระไน(Cut) เป็นการประเมินตรวจสอบคุณภาพการเจียระไนให้ได้สัดส่วน สวยงามหรือไม่มีข้อผิดพลาดบกพร่อง และประเมินมูลค่าจากน้ำหนัก(Carat)เป็นเกณฑ์การพิจารณาด้านราคา



3. กำหนดการประเมินคุณภาพจากข้อมูลการตลาด โดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะในการวิเคราะห์ราคาต้นทุนการผลิตอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า โดยจะต้องเข้าใจราคาขาย(Price) และ ต้นทุน (Cost) เพื่อให้เข้าใจราคาขายการตลาดการกำหนดราคาขายของสภาพตลาดในแต่ละสถานที่จำหน่ายอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า เป็นราคาขายตามสภาพของตลาดแต่ละแห่ง เช่น ตลาดกลางอัญมณีในกรุงเทพฯ และจันทบุรี เป็นต้น  การกำหนดมูลค่าการขายปลีกและขายส่งอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่าเป็นราคาเฉลี่ยที่ผู้ขายส่วนใหญ่จะคาดหวังว่าจะขายและราคาที่ผู้ขายปลีกคาดหวังว่าจะขายให้กับบริษัทผู้ผลิตอัญมณีและเครื่องประดับ และการกำหนดมูลค่าจากวัสดุในเครื่องประดับและโลหะมีค่า เป็นราคาที่ต่ำสุดที่จะได้รับกลับคืนหากรื้อหรือแกะชิ้นงานนั้นๆ เป็นราคามูลค่าของทอง เงิน หรือ แพลทินัม ของตัวเรือนเครื่องประดับ



 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A 

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A 

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1เครื่องมือการประเมิน



           1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



           2. แบบประเมินผลการสัมภาษณ์



           ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



      18.2เครื่องมือการประเมิน



           1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



           2. แบบประเมินผลการสัมภาษณ์



           ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



      18.3เครื่องมือการประเมิน



           1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



           2. แบบประเมินผลการสัมภาษณ์



           ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



ยินดีต้อนรับ