หน่วยสมรรถนะ
ประเมินคุณภาพเพชร
สาขาวิชาชีพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | GEM-ZZZ-6-053ZB |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ประเมินคุณภาพเพชร |
3. ทบทวนครั้งที่ | N/A / - |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
อาชีพผู้ประเมินคุณภาพเพชร ชั้น 6 |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
บุคคลที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการตรวจสอบแบบ 4 Cs ได้แก่ การประเมินคุณภาพจากสีเพชร การประเมินคุณภาพจากความสะอาดของเพชร การประเมินคุณภาพจากการเจียระไนเพชร การประเมินคุณภาพจากน้ำหนักเพชร การประเมินคุณภาพจากการเรืองแสงของเพชร และการประเมินคุณภาพจากราคากลางของเพชร (Rapaport) |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
กลุ่มวิชาชีพอัญมณีและเครื่องประดับ |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
301041 ประเมินคุณภาพจากสีเพชร | 1. ประเมินเปรียบเทียบกับตารางสีตามมาตรฐาน | 301041.01 | 135096 |
301041 ประเมินคุณภาพจากสีเพชร | 2. ประเมินเปรียบเทียบกับของจริงตามมาตรฐาน | 301041.02 | 135097 |
301042 ประเมินคุณภาพจากความสะอาดของเพชร | 1. วิเคราะห์ตำหนิของเพชรภายใน | 301042.01 | 135098 |
301042 ประเมินคุณภาพจากความสะอาดของเพชร | 2. วิเคราะห์ตำหนิของเพชรภายนอก | 301042.02 | 135099 |
301043 ประเมินคุณภาพจากการเจียระไนเพชร | 1. วิเคราะห์ขนาดการเจียระไนเพชร | 301043.01 | 135100 |
301043 ประเมินคุณภาพจากการเจียระไนเพชร | 2. วิเคราะห์รูปทรงการเจียระไนเพชร | 301043.02 | 135101 |
301043 ประเมินคุณภาพจากการเจียระไนเพชร | 3. วิเคราะห์เหลี่ยมและมุมการเจียระไนเพชร | 301043.03 | 135102 |
301043 ประเมินคุณภาพจากการเจียระไนเพชร | 4. ประเมินสัดส่วนและความประณีตการเจียระไนเพชร | 301043.04 | 135103 |
301044 ประเมินคุณภาพจากน้ำหนักเพชร | 1. ตรวจสอบน้ำหนักเพชร | 301044.01 | 135104 |
301044 ประเมินคุณภาพจากน้ำหนักเพชร | 2. ประเมินราคาเพชรจากคุณภาพของน้ำหนักเพชร | 301044.02 | 135105 |
301045 ประเมินคุณภาพจากการเรืองแสงของเพชร | 1. ตรวจสอบการเรืองแสงของเพชร | 301045.01 | 135106 |
301045 ประเมินคุณภาพจากการเรืองแสงของเพชร | 2. ประเมินราคาเพชรจากคุณภาพของการเรืองแสงของเพชร | 301045.02 | 135107 |
301046 ประเมินคุณภาพจากราคากลางของเพชร (Rapaport) | 1. ตรวจสอบคุณภาพจาก 4 องค์ประกอบ | 301046.01 | 135108 |
301046 ประเมินคุณภาพจากราคากลางของเพชร (Rapaport) | 2. ตรวจสอบราคากลางของเพชร | 301046.02 | 135109 |
301046 ประเมินคุณภาพจากราคากลางของเพชร (Rapaport) | 3. ประเมินราคาจากราคากลางของเพชร | 301046.03 | 135110 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1.ประเมินคุณภาพจากสีเพชร 0.1 1. ประเมินเปรียบเทียบกับตารางสีตามมาตรฐาน 0.2 2. ประเมินเปรียบเทียบกับของจริงตามมาตรฐาน 1.ประเมินคุณภาพจากความสะอาดของเพชร 0.3 1. วิเคราะห์ตำหนิของเพชรภายใน 0.4 2. วิเคราะห์ตำหนิของเพชรภายนอก 1.ประเมินคุณภาพจากการเจียระไนเพชร 0.5 1. วิเคราะห์ขนาดการเจียระไนเพชร 0.6 2. วิเคราะห์รูปทรงการเจียระไนเพชร 0.7 3. วิเคราะห์เหลี่ยมและมุมการเจียระไนเพชร 0.8 4. ประเมินสัดส่วนและความประณีตการเจียระไนเพชร 1.ประเมินคุณภาพจากน้ำหนักเพชร 0.9 1. ตรวจสอบน้ำหนักเพชร 0.10 2. ประเมินราคาเพชรจากคุณภาพของน้ำหนักเพชร 1.ประเมินคุณภาพจากการเรืองแสงของเพชร 0.11 1. ตรวจสอบการเรืองแสงของเพชร 0.12 2. ประเมินราคาเพชรจากคุณภาพของการเรืองแสงของเพชร 1.ประเมินคุณภาพจากราคากลางของเพชร (Rapaport) 0.13 1. ตรวจสอบคุณภาพจาก 4 องค์ประกอบ 0.14 2. ตรวจสอบราคากลางของเพชร 0.15 3. ประเมินราคาจากราคากลางของเพชร (ข) ความต้องการด้านความรู้ สมรรถนะย่อย (EoC) 301041 ประเมินคุณภาพจากสีเพชร 301042 ประเมินคุณภาพจากความสะอาดของเพชร 301043 ประเมินคุณภาพจากการเจียระไนเพชร 301044 ประเมินคุณภาพจากน้ำหนักเพชร 301045 ประเมินคุณภาพจากการเรืองแสงของเพชร 301046 การประเมินราคาจากราคากลางของเพชร(Rapaport) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (PC) 1. ประเมินเปรียบเทียบกับตารางสีตามมาตรฐาน 2. ประเมินเปรียบเทียบกับของจริงตามมาตรฐาน 1. วิเคราะห์ตำหนิของเพชรภายใน 2. วิเคราะห์ตำหนิของเพชรภายนอก 1. วิเคราะห์ขนาดการเจียระไนเพชร 2. วิเคราะห์รูปทรงการเจียระไนเพชร 3. วิเคราะห์เหลี่ยมและมุมการเจียระไนเพชร 4. ประเมินสัดส่วนและความประณีตการเจียระไนเพชร 1. ตรวจสอบน้ำหนักเพชร 2. ประเมินราคาเพชรจากคุณภาพของน้ำหนักเพชร 1. ตรวจสอบการเรืองแสงของเพชร 2. ประเมินราคาเพชรจากคุณภาพของการเรืองแสงของเพชร 1. ตรวจสอบคุณภาพจาก 4 องค์ประกอบ 2. ตรวจสอบราคากลางของเพชร 3. ประเมินราคาจากราคากลางของเพชร
ความรู้ที่ต้องการ (Knowledge) K1.1 ความรู้เกี่ยวกับตารางสีตามมาตรฐาน K1.2 ความรู้เกี่ยวกับประเมินเปรียบเทียบกับตารางสีตามมาตรฐาน K2.1 ความรู้เกี่ยวกับประเมินเปรียบเทียบกับของจริงตามมาตรฐาน K1.1 ความรู้เกี่ยวกับตำหนิของเพชรภายใน K2.1 ความรู้เกี่ยวกับตำหนิของเพชรภายนอก K1.1 ความรู้เกี่ยวกับขนาดการเจียระไนเพชร K2.1 ความรู้เกี่ยวกับรูปทรงการเจียระไนเพชร K3.1 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการเจียระไนเพชรเหลี่ยมและมุม K4.1 ความรู้เกี่ยวกับสัดส่วนและความประณีตการเจียระไนเพชร K1.1 ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบน้ำหนักเพชร K2.1 ความรู้เกี่ยวกับการประเมินราคาเพชรจากคุณภาพของน้ำหนักเพชร K1.1 ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบการเรืองแสงของเพชร K2.1 ความรู้เกี่ยวกับประเมินราคาเพชรจากคุณภาพของการเรืองแสงของเพชร K1.1 ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบคุณภาพจาก 4 องค์ประกอบ K2.1 ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบราคากลางของเพชร K3.1 ความรู้เกี่ยวกับการประเมินราคาจากราคากลางของเพชร |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) ES1.1-1 เลือกตารางสีตามมาตรฐาน ES1.2-2 แสดงการประเมินเปรียบเทียบกับตารางสีตามมาตรฐาน ES2.1-3 เลือกเพชรของจริงตามมาตรฐาน ES2.2-4 แสดงการประเมินเปรียบเทียบกับของจริงตามมาตรฐาน ES1.1-5 แสดงการประเมินตำหนิของเพชรภายใน ES1.2-6 แสดงผลการวิเคราะห์ตำหนิของเพชรภายใน ES2.1-7 แสดงการประเมินตำหนิของเพชรภายนอก ES2.2-8 แสดงผลการวิเคราะห์ตำหนิของเพชรภายนอก ES1.1-9 แสดงการประเมินขนาดการเจียระไนเพชร ES1.2-10 แสดงผลการวิเคราะห์ขนาดการเจียระไนเพชร ES2.1-11 แสดงการประเมินรูปทรงการเจียระไนเพชร ES2.2-12 แสดงผลการวิเคราะห์รูปทรงการเจียระไนเพชร ES3.1-13 แสดงการประเมินเหลี่ยมและมุมการเจียระไนเพชร ES3.2-14 แสดงผลการวิเคราะห์เหลี่ยมและมุมการเจียระไนเพชร ES4.1-15 แสดงผลการประเมินสัดส่วนการเจียระไนเพชร ES4.2-16 แสดงผลการประเมินความประณีตการเจียระไนเพชร ES1.1-17 แสดงผลการตรวจสอบน้ำหนักเพชร ES2.1-18 แสดงผลการประเมินราคาเพชรจากคุณภาพของน้ำหนักเพชร ES1.1-19 แสดงผลการตรวจสอบการเรืองแสงของเพชร ES2.1-20 แสดงผลการประเมินราคาเพชรจากคุณภาพของการเรืองแสงของเพชร ES1.1-21 แสดงผลการตรวจสอบคุณภาพจาก 4 องค์ประกอบ ES2.1-22 แสดงผลการตรวจสอบราคากลางของเพชร ES3.1-23 แสดงผลการประเมินราคาจากราคากลางของเพชร (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) EK1.1-1 อธิบายวิธีการเลือกตารางสีตามมาตรฐาน EK1.2-2 อธิบายวิธีการประเมินเปรียบเทียบกับตารางสีตามมาตรฐาน EK2.1-3 อธิบายวิธีการประเมินเปรียบเทียบกับของจริงตามมาตรฐาน EK1.1-4 อธิบายตำหนิของเพชรภายใน EK2.1-5 อธิบายตำหนิของเพชรภายนอก EK3.1-6 uงวิธีการือเพื่อตรวจสอบและระบุอธิบายขนาดการเจียระไนเพชร EK4.1-7 อธิบายรูปทรงการเจียระไนเพชร EK1.1-8 อธิบายวิธีการเจียระไนเพชรเหลี่ยมและมุม EK2.1-9 อธิบายสัดส่วนและความประณีตการเจียระไนเพชร EK1.1-10 อธิบายวิธีการตรวจสอบน้ำหนักเพชร EK2.1-11 อธิบายวิธีการประเมินราคาเพชรจากคุณภาพของน้ำหนักเพชร EK1.1-12 อธิบายวิธีการตรวจสอบการเรืองแสงของเพชร EK2.1-13 อธิบายวิธีการประเมินราคาเพชรจากคุณภาพของการเรืองแสงของเพชร EK1.1-14 อธิบายวิธีการตรวจสอบคุณภาพจาก 4 องค์ประกอบ EK2.1-15 อธิบายวิธีการตรวจสอบราคากลางของเพชร EK3.1-16 อธิบายวิธีการประเมินราคาจากราคากลางของเพชร
(ค) คำแนะนำในการประเมิน ประเมินเกี่ยวกับสมรรถนะวิชาชีพในแต่ละหน่วยสมรรถนะ โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานด้านความรู้ (ง) วิธีการประเมิน 1. พิจารณาหลักฐานความรู้ เอกสารรับรองการผ่านการสอบข้อเขียนหรือผลการทดสอบความรู้ตามวัตถุประสงค์ 2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน 2.1 เอกสารรับรองการปฏิบัติงานหรือผลการประเมินการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ 2.2 เอกสารการประเมินตามวัตถุประสงค์ด้านทักษะ |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่น ๆ หรือสถานการณ์อื่น ๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (ก) คำแนะนำ การประเมินค่าจากคุณภาพอัญมณี ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องแสดงเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพจากสีอัญมณี การประเมินคุณภาพจากความสะอาดของอัญมณี การประเมินคุณภาพจากการเจียระไนอัญมณี และการประเมินคุณภาพจากน้ำหนักอัญมณี (ข) คำอธิบายรายละเอียด 1. การประเมินคุณภาพจากสีเพชรโดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะในการประเมินเปรียบเทียบกับตารางสีตามมาตรฐาน และการประเมินเปรียบเทียบกับของจริงตามมาตรฐานในระบบของ GIA แบ่งระดับ tone ของสีออกเป็น 10 ระดับ เริ่มจาก D หมายถึงใสไม่มีสี ไปถึง M หมายถึงมีสีเจือปนและ การประเมินเปรียบเทียบกับตารางสีตามมาตรฐานที่กำหนด 2. การประเมินคุณภาพจากความสะอาดของเพชรโดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะในการวิเคราะห์ตำหนิของเพชรภายใน หรือมลทินภายใน(Inciusionsหรือ Internal Characteristic) เป็นลักษณะหรือความผิดปกติที่เข้าไปในเนื้อเพชรหรืออยู่ในเนื้อเพชร เช่น เป็นผลึก หรือเป็นรอยแตกภายใน เป็นต้น การวิเคราะห์ตำหนิของเพชรภายนอก โดยตำหนิภายนอก (Blemishes หรือ External Characteristic) เป็นตำหนิหรือความผิดปกติที่เกิดที่ผิวของเพชร 3. การประเมินคุณภาพจากการเจียระไนเพชร โดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะในการวิเคราะห์ขนาดการเจียระไนเพชร การวิเคราะห์รูปทรงการเจียระไนเพชร การวิเคราะห์เหลี่ยมและมุมการเจียระไนเพชร และการประเมินสัดส่วนและความประณีตการเจียระไนเพชรในมาตรฐาน GIA เป็นการประเมินเพื่อดูคุณภาพของการเจียระไนในแง่มุมของความสวยงามสามารถแบ่งออกเป็น 5 ระดับ 4. การประเมินคุณภาพจากน้ำหนักเพชร โดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะในการตรวจสอบน้ำหนักเพชรซึ่งตรวจสอบโดยชั่งน้ำหนัก (Precision Test)และการประเมินราคาเพชรจากน้ำหนักเพชร 5. การประเมินคุณภาพจากการเรืองแสงของเพชร โดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะในการตรวจสอบการเรืองแสงของเพชร และการประเมินราคาเพชรจากคุณภาพของการเรืองแสงของเพชร โดยการเรืองแสง ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อเพชรเรืองแสง เมื่อคลื่นแสงยูวี (UV: ultraviolet) ทำปฏิกิริยากับอะตอมภายในเพชร และส่วนมากจะเรืองแสงสีฟ้าในระดับเข้มถึงอ่อนต่างกันไป หรือส่วนน้อยจะเรืองแสงสีอื่นๆเช่น สีเขียว สีส้ม สีนำ้ตาล เป็นต้นโดยการเรืองแสงสามารถแบ่งออกได้ 5 ระดับ เริ่มจากเรืองแสงเข้มมาก จนถึงไม่เรืองแสง 6. การประเมินราคาจากราคากลางของเพชร(Rapaport) โดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะในการประเมินราคาและคำนวณราคาจากตารางราคากลางเทียบกับคุณภาพของ 4Cs |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 เครื่องมือการประเมิน 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 2. แบบประเมินผลการสัมภาษณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน 18.2 เครื่องมือการประเมิน 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 2. แบบประเมินผลการสัมภาษณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน 18.3 เครื่องมือการประเมิน 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 2. แบบประเมินผลการสัมภาษณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน 18.4 เครื่องมือการประเมิน 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 2. แบบประเมินผลการสัมภาษณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน
18.5 เครื่องมือการประเมิน 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 2. แบบประเมินผลการสัมภาษณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน 18.6 เครื่องมือการประเมิน 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 2. แบบประเมินผลการสัมภาษณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน |