หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ประเมินคุณภาพโลหะมีค่า

สาขาวิชาชีพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ GEM-ZZZ-5-037ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ประเมินคุณภาพโลหะมีค่า

3. ทบทวนครั้งที่ N/A / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพผู้ประเมินคุณภาพโลหะมีค่า ชั้น 5



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
บุคคลที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพจากคุณค่าของตัวเรือนโลหะมีค่า และการวิเคราะห์ค่าความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มวิชาชีพอัญมณีและเครื่องประดับ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
301061 ประเมินคุณภาพจากคุณค่าของตัวเรือนโลหะมีค่า 1. ประเมินคุณภาพจากการออกแบบตัวเรือนโลหะมีค่า 301061.01 135118
301061 ประเมินคุณภาพจากคุณค่าของตัวเรือนโลหะมีค่า 2. ประเมินคุณภาพจากน้ำหนักของตัวเรือนโลหะมีค่า 301061.02 135119
301061 ประเมินคุณภาพจากคุณค่าของตัวเรือนโลหะมีค่า 3. ประเมินคุณภาพจากความประณีตในการผลิตตัวเรือนโลหะมีค่า 301061.03 135120
301061 ประเมินคุณภาพจากคุณค่าของตัวเรือนโลหะมีค่า 4. ประเมินคุณภาพจากวัสดุที่ใช้ผลิตตัวเรือนโลหะมีค่า 301061.04 135121
301062 วิเคราะห์ค่าความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า 1. ประเมินคุณภาพจากเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า 301062.01 135122
301062 วิเคราะห์ค่าความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า 2. ประเมินราคาจากเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า 301062.02 135123

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

    1.ประเมินคุณภาพจากคุณค่าของตัวเรือนโลหะมีค่า

        0.1 1. ประเมินคุณภาพจากการออกแบบตัวเรือนโลหะมีค่า

        0.2 2. ประเมินคุณภาพจากน้ำหนักของตัวเรือนโลหะมีค่า

        0.3 3. ประเมินคุณภาพจากความประณีตในการผลิตตัวเรือนโลหะมีค่า

        0.4 4. ประเมินคุณภาพจากวัสดุที่ใช้ผลิตตัวเรือนโลหะมีค่า

    1.วิเคราะห์ค่าความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า

        0.5 1. ประเมินคุณภาพจากเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า

        0.6 2. ประเมินราคาจากเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า

(ข) ความต้องการด้านความรู้

สมรรถนะย่อย (EoC)



301061 ประเมินคุณภาพจากคุณค่าของตัวเรือนโลหะมีค่า



301062 วิเคราะห์ค่าความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า



เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (PC)



1. ประเมินคุณภาพจากการออกแบบตัวเรือนโลหะมีค่า



2. ประเมินคุณภาพจากน้ำหนักของตัวเรือนโลหะมีค่า



3. ประเมินคุณภาพจากความประณีตในการผลิตตัวเรือนโลหะมีค่า



4. ประเมินคุณภาพจากวัสดุที่ใช้ผลิตตัวเรือนโลหะมีค่า



1. ประเมินคุณภาพจากเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า



2. ประเมินราคาจากเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า



ความรู้ที่ต้องการ (Knowledge)



K1.1 ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบตัวเรือนโลหะมีค่า



K1.2 ความรู้เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพจากการออกแบบตัวเรือนโลหะมีค่า



K2.1 ความรู้เกี่ยวกับน้ำหนักของตัวเรือนโลหะมีค่า



K2.2 ความรู้เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพจากน้ำหนักของตัวเรือนโลหะมีค่า



K3.1 ความรู้เกี่ยวกับการผลิตตัวเรือนโลหะมีค่า



K3.2 ความรู้เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพจากความประณีตในการผลิตตัวเรือนโลหะมีค่า



K4.1 ความรู้เกี่ยวกับวัสดุที่ใช้ผลิตตัวเรือนโลหะมีค่า



K4.2 ความรู้เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพจากวัสดุที่ใช้ผลิตตัวเรือนโลหะมีค่า



K1.1 ความรู้เกี่ยวกับเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า



K1.2 ความรู้เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพจากเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า



K2.1 ความรู้เกี่ยวกับราคาจากเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า



K2.2ความรู้เกี่ยวกับการประเมินราคาจากเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)



(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



ES1.1-1 แสดงการประเมินคุณภาพจากการออกแบบตัวเรือนโลหะมีค่า



ES1.2-2 แสดงการประเมินคุณภาพจากน้ำหนักของตัวเรือนโลหะมีค่า



ES2.1-3 แสดงการประเมินคุณภาพจากความประณีตในการผลิตตัวเรือนโลหะมีค่า



ES2.2-4 แสดงการประเมินคุณภาพจากวัสดุที่ใช้ผลิตตัวเรือนโลหะมีค่า



ES3.1-5 แสดงการประเมินคุณภาพจากเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า



ES3.2-6 แสดงการประเมินราคาจากเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



EK1.1-1 อธิบายการออกแบบตัวเรือนโลหะมีค่า



EK1.1-2 อธิบายวิธีการประเมินคุณภาพจากการออกแบบตัวเรือนโลหะมีค่า



EK2.1-3 อธิบายน้ำหนักของตัวเรือนโลหะมีค่า



EK2.2-4 อธิบายวิธีการประเมินคุณภาพจากน้ำหนักของตัวเรือนโลหะมีค่า



EK3.1-5 อธิบายกระบวนการผลิตตัวเรือนโลหะมีค่า



EK3.2-6



uงวิธีการือเพื่อตรวจสอบและระบุอธิบายวิธีการประเมินคุณภาพจากความประณีตในการผลิตตัวเรือนโลหะมีค่า



EK4.1-7 อธิบายวัสดุที่ใช้ผลิตตัวเรือนโลหะมีค่า



EK4.2-8 อธิบายวิธีการประเมินคุณภาพจากวัสดุที่ใช้ผลิตตัวเรือนโลหะมีค่า



EK1.1-9 อธิบายเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า



EK1.2-10 อธิบายวิธีการประเมินคุณภาพจากเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า



EK2.1-11 อธิบายเกี่ยวกับราคาจากเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า



EK2.2-12 อธิบายวิธีการการประเมินราคาจากเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



ประเมินเกี่ยวกับสมรรถนะวิชาชีพในแต่ละหน่วยสมรรถนะ โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานด้านความรู้



(ง) วิธีการประเมิน



1. พิจารณาหลักฐานความรู้



เอกสารรับรองการผ่านการสอบข้อเขียนหรือผลการทดสอบความรู้ตามวัตถุประสงค์



2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน



2.1 เอกสารรับรองการปฏิบัติงานหรือผลการประเมินการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ



2.2 เอกสารการประเมินตามวัตถุประสงค์ด้านทักษะ.


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่น ๆ หรือสถานการณ์อื่น ๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง



 (ก) คำแนะนำ



การประเมินค่าจากคุณภาพโลหะมีค่า ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องแสดงเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพจากคุณค่าของตัวเรือนโลหะมีค่า และการวิเคราะห์ค่าความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



1. การประเมินคุณภาพจากคุณค่าของตัวเรือนโลหะมีค่า โดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะในการประเมินคุณภาพจากการออกแบบตัวเรือนโลหะมีค่าการออกแบบโลหะมีค่าจะเน้นถึงความประณีตการสลักลวดลายและความเรียบร้อย และมีการออกแบบลักษณะของพื้นผิวเข้าไปอีกไม่ว่าจะเป็นแบบผิวเงา แบบผิวด้านแบบผิวซาติน และอื่นๆการประเมินคุณภาพจากน้ำหนักของตัวเรือนโลหะมีค่าการประเมินคุณภาพจากความประณีตในการผลิตตัวเรือนโลหะมีค่าโดยจุดที่ควรสังเกตความประณีต คือบริเวณจุดเชื่อมต่อ ข้อต่อ และตัวสลักเนื่องจากจุดดังกล่าวจะแตกหักได้ง่ายและการประเมินคุณภาพจากวัสดุที่ใช้ผลิตตัวเรือนโลหะมีค่า



2. การวิเคราะห์ค่าความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่าโดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะในการประเมินคุณภาพจากเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่า และประเมินราคาจากเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของโลหะมีค่าโดยใช้อุปกรณ์ในการวิเคราะห์ค่าความบริสุทธิ์ ได้แก่ X-Ray Fluoresence และเครื่องมืออื่นๆ



 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A 

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A 

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือการประเมิน



           1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



            2. แบบประเมินผลการสัมภาษณ์



           ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



      18.2 เครื่องมือการประเมิน



           1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



            2. แบบประเมินผลการสัมภาษณ์



           ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



ยินดีต้อนรับ